การพัฒนาบัญชีทางการของไลน์ สำหรับติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาเคมีบำบัด หลังจำหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล
คำสำคัญ:
การพัฒนาบัญชีทางการของไลน์, อาการไม่พึงประสงค์, ยาเคมีบำบัดบทคัดย่อ
ความเป็นมา: โรงพยาบาลกำแพงเพชรมีผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัดเพิ่มมากขึ้น แต่เภสัชกรมีจำนวนเท่าเดิม ภาระงานที่มากขึ้นทำให้มีข้อจำกัดด้านเวลาในการให้ข้อมูลและคำแนะนำการจัดการกับอาการไม่พึงประสงค์ จึงมีความจำเป็นในการพัฒนาเครื่องมือที่ช่วยในการติดตามและให้คำแนะนำทางไกลหลังจากผู้ป่วยถูกจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล
วัตถุประสงค์: เพื่อพัฒนาและศึกษาประสิทธิภาพของบัญชีทางการของไลน์ที่ใช้เป็นเครื่องมือในกระบวนการติดตามและให้คำแนะนำทางไกล สำหรับผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบำบัด
วิธีวิจัย: การศึกษานี้เป็นรูปแบบการวิจัยและพัฒนา แบ่งเป็น 3 ระยะ ระยะที่ 1 ทบทวนวรรณกรรมและจัดทำแผนผังการไหลของข้อมูลอาการไม่พึงประสงค์จากยาเคมีบำบัด 4 สูตร ระยะที่ 2 พัฒนาระบบติดตามผู้ป่วยด้วยบัญชีทางการของไลน์ ระยะที่ 3 ศึกษาประสิทธิภาพของเครื่องมือ จากการทดสอบใช้จริงของผู้ป่วยหรือญาติ 20 คน ด้วยกรณีศึกษาเสมือนจริง และแบบสอบถามความพึงพอใจ
ผลการวิจัย: บัญชีทางการของไลน์ที่พัฒนาขึ้นมีระบบประเมินอาการและระดับความรุนแรง การตอบกลับคำแนะนำที่เหมาะสมกับผู้ป่วยเฉพาะราย สำหรับ 10 กลุ่มอาการ ข้อมูลการใช้งานที่บันทึกในระบบจะช่วยให้เภสัชกรติดตามอาการผู้ป่วยย้อนหลังได้ เครื่องมือที่พัฒนามีประสิทธิภาพดี มีความง่ายต่อการใช้งาน จากผลการทำกรณีศึกษาได้สำเร็จทันเวลา การผิดขั้นตอนอยู่ในเกณฑ์เป้าหมาย และมีความพึงพอใจของผู้ใช้งานอยู่ในเกณฑ์ดีและดีมาก
สรุปผล: บัญชีทางการของไลน์ที่พัฒนาขึ้น เหมาะสมที่จะนำไปเป็นเครื่องมือที่ใช้ในกระบวนการทำงานติดตามและให้คำแนะนำจัดการอาการไม่พึงประสงค์ทางไกล ในผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบำบัดได้
References
WHO. WHO report on cancer: setting priorities, investing wisely and providing care for all [Internet]. Geneva: World Health Organization; 2020 [cited 2022 Sep 5]. Available from: https://www.who.int/publications/i/item/9789240001299
สถาบันมะเร็งแห่งชาติ. ทะเบียนมะเร็งระดับโรงพยาบาล พ.ศ. 2563 [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: กลุ่มงานดิจิทัลการแพทย์ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ; 2564 [สืบค้นเมื่อ 3 ส.ค. 2565]. สืบค้นจาก: https://www.nci.go.th/e_book/hosbased_2563/index.html
สุภัสร์ สุบงกช, มานิตย์ แซ่เตียว, สุธาร จันทะวงศ์. Oncology Pharmacy Practice เภสัชกรรมปฏิบัติในโรคมะเร็ง. พิมพ์ครั้งที่ 3. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2560.
Tanaka K, Hori A, Tachi T, Osawa T, Nagaya K, Makino T, et al. Impact of pharmacist counseling on reducing instances of adverse events that can affect the quality of life of chemotherapy outpatients with breast cancer. J Pharm Health Care Sci. 2018;4:9. doi: 10.1186/s40780-018-0105-3.
Wongkray S, Danwilai K, Dhippayom T. Impact of pharmaceutical care on quality of life in breast cancer patients: a randomized controlled trial. Thai J Pharm Prac [Internet]. 2019 [cited 2022 Oct 15];11(4):827-39. Available from: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/TJPP/article/view/193925
Maguire R, McCann L, Kotronoulas G, Kearney N, Ream E, Armes J, et al. Real time remote symptom monitoring during chemotherapy for cancer: European multicentre randomised controlled trial (eSMART). BMJ. 2021;374:n1647. doi: 10.1136/bmj.n1647.
กองสถิติเศรษฐกิจ สำนักงานสถิติแห่งชาติ. สำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2565 (ไตรมาส 1) [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: สำนักงานสถิติแห่งชาติ; 2565 [สืบค้นเมื่อ 22 ต.ค. 2565]. สืบค้นจาก: https://www.nso.go.th/nsoweb/nso/survey_detail/jJ
กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. รายงานการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2563 – Thailand internet user behavior 2020. พิมพ์ครั้งที่ 1. สำนักยุทธศาสตร์ สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม; 2563.
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 2 ชลบุรี. คู่มือการสร้าง LINE OFFICIAL ACCOUNT [อินเทอร์เน็ต]. ชลบุรี: สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 2 สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์; 2564 [สืบค้นเมื่อ 22 ต.ค. 2565]. สืบค้นจาก: https://tpso3.m-society.go.th/index.php/th/2019-10-07-07-38-51/2019-10-07-08-05-27/2019-10-21-16-52-38/384-line-official-account-line-oa
สถาบันมะเร็งแห่งชาติ. กลุ่มงานเภสัชกรรม. คู่มือมาตรฐานการทำงานเกี่ยวกับยาเคมีบำบัดและการดูแลผู้ป่วยหลังได้รับยาเคมีบำบัด. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข.; 2560.
American Cancer Society. Managing cancer-related side effects [Internet]. n.p.: American Cancer Society. 2020 [cited 2023 Jan 15]. Available from: https://www.cancer.org/treatment/treatments-and-side-effects/physical-side-effects.html
National Cancer Institute. Chemotherapy and you: support for people with cancer [Internet]. n.p.: National Cancer Institute, National Institutes of Health, U.S. Department of Health and Human Services. 2018 [cited 2023 Jan 15]. Available from: https://www.cancer.gov/publications/patient-education/chemo-and-you
BC Cancer. Symptom management : nursing produces guidelines for managing the symptoms of cancer [Internet]. Vancouver (British Columbia): Provincial Health Services Authority. [cited 2023 Jan 1]. Available from: http://www.bccancer.bc.ca/health-professionals/clinical-resources/nursing/symptom-management
Rovinelli RJ, Hambleton RK. On the use of content specialists in the assessment of criterion-referenced test item validity. Tijdschrift voor Onderwijsresearch [Internet]. 1977 [cited 2022 Oct 7];2(2):49–60. Available from: https://psycnet.apa.org/record/1979-12368-001
George D, Mallery P. IBM SPSS statistics 25 step by step: a simple guide and reference (fifteenth edition). New York: Routledge; 2019.
Lewis JR. The system usability scale: past, present, and future. Int J Hum-Comput Interact. 2018;34(7):557-90. doi: 10.1080/10447318.2018.1455307.
Will T. Measuring and interpreting system usability scale (SUS) [Internet]. n.p.: UIUX Trend; 2016-2023 [cited 2023 Jul 5]. Available from: https://uiuxtrend.com/measuring-system-usability-scale-sus
Laubheimer P. The 3-click rule for navigation is false [Internet]. Dover (DE): Nielsen Norman Group; 2019 [cited 2022 Jul 30]. Available from: https://www.nngroup.com/articles/3-click-rule/
Nielsen J. Usability 101: introduction to usability [Internet]. Dover (DE): Nielsen Norman Group; 2012 [cited 2022 Jul 4]. Available from: https://www.nngroup.com/articles/usability-101-introduction-to-usability/
Davis FD, Bagozzi RP, Warshaw PR. User acceptance of computer technology: a comparison of two theoretical models. Manag Sci. 1989;35(8):982-1003. doi: 10.1287/mnsc.35.8.982.
Nielsen J. Why you only need to test with 5 users [Internet]. Dover (DE): Nielsen Norman Group; 2000 [cited 2022 Jul 4]. Available from: https://www.nngroup.com/articles/why-you-only-need-to-test-with-5-users
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล(ประเทศไทย)
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อความภายในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารเภสัชกรรมโรงพยาบาลทั้งหมด รวมถึงรูปภาพประกอบ ตาราง เป็นลิขสิทธิ์ของสมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) การนำเนื้อหา ข้อความหรือข้อคิดเห็น รูปภาพ ตาราง ของบทความไปจัดพิมพ์เผยแพร่ในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ ต้องได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการวารสาร (สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย)) อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร
สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) อนุญาตให้สามารถนำไฟล์บทความไปใช้ประโยชน์และเผยแพร่ต่อได้ โดยอยู่ภายใต้เงื่อนไขสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอน (Creative Commons License: CC) โดย ต้องแสดงที่มาจากวารสาร – ไม่ใช้เพื่อการค้า – ห้ามแก้ไขดัดแปลง, Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)
ข้อความที่ปรากฏในบทความในวารสารเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) และบุคลากรในสมาคมฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเอง ตลอดจนความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความเป็นของผู้เขียน ไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการ