ภาวะพิษจากแมงกะพรุน
คำสำคัญ:
แมงกะพรุน, กระเปาะพิษ, กลุ่มอาการอิรูคันจิบทคัดย่อ
ภาวะพิษจากแมงกะพรุนพบได้ในผู้ป่วยที่มีประวัติการเล่นน้ำทะเลในหลายพื้นที่ทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ซึ่งในปัจจุบันมีรายงานผู้ป่วยต่ำกว่าความเป็นจริง โดยทั่วไปจะพบรอยแดงหรือรอยไหม้เป็นแนวยาวบริเวณผิวหนังที่สัมผัสแมงกะพรุนพิษ แต่บางรายอาจมีอาการแสดงทางระบบเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและรุนแรง เช่น กล้ามเนื้อหายใจเป็นอัมพาต หัวใจเต้นผิดจังหวะ ตามด้วยหัวใจล้มเหลว จนทำให้เสียชีวิต บางรายที่สัมผัสแมงกะพรุนกล่องชนิดที่มีหนวดเส้นเดียว อาจก่อให้เกิดกลุ่มอาการอิรูคันจิ ซึ่งเป็นผลจากการที่ร่างกายปลดปล่อยสาร catecholamine อย่างเฉียบพลัน เช่น อาการใจสั่น ชีพจรเร็ว กระวนกระวาย ความดันโลหิตสูง จากเข็มพิษในกระเปาะพิษของแมงกะพรุน ดังนั้นหากผู้ป่วยได้รับการปฐมพยาบาลและการรักษาอย่างทันท่วงทีและถูกต้อง จะช่วยเพิ่มโอกาสในการรอดชีวิต
References
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง. คลังความรู้ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง: แมงกะพรุนพิษ [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพมหานคร: กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม; 2565 [สืบค้นเมื่อ 25 เม.ย. 2566]. สืบค้นจาก: https://km.dmcr.go.th/ c_247/d_16318
ลักขณา ไทยเครือ, พจมาน ศิริอารยาภรณ์. การบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุนพิษ: เฝ้าระวัง ป้องกัน รักษา [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์พิษวิทยารามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัย มหิดล; 2561 [สืบค้นเมื่อ 25 เม.ย. 2566]. สืบค้นจาก: https://www.rama.mahidol.ac.th/poisoncenter/th/books/09feb2022-1512
พจมาน ศิริอารยาภรณ์. พิษจากแมงกะพรุน การรักษาเบื้องต้นและการป้องกัน. ใน: สุชัย สุเทพารักษ์, นฤมล พักมณี, วิศิษฏ์ สิตปรีชา, บรรณาธิการ. พิษจากสัตว์และพืช. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: คลินิกพิษจากสัตว์ สถานเสาวภา สภากาชาดไทย; 2552. หน้า 120-32.
ศูนย์พิษวิทยารามาธิบดี. สัตว์ทะเลมีพิษชนิดไม่มีกระดูกสันหลัง (invertebrate venomations) [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: ศูนย์พิษวิทยารามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล; 2561 [สืบค้นเมื่อ 25 เม.ย. 2566]. สืบค้นจาก: https://www.rama.mahidol.ac.th/poisoncenter/th/pois-cov/invertebrate-venomations
สุดา สีบุญเรือง, สุชัย สุเทพารักษ์. การดูแลรักษาและป้องกันการได้รับพิษจากสัตว์ที่มีความสำคัญทางการแพทย์. ใน: สุดา สีบุญเรือง, สุชัย สุเทพารักษ์, วิศิษฏ์ สิตปรีชา, บรรณาธิการ. แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยถูกงูกัดและได้รับพิษจากสัตว์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: เพนตากอน แอ็ดเวอร์ไทซิ่ง; 2557. หน้า 35-46.
Merative Micromedex®. Chirodropid coelenterates [Database on the internet]. Michigan: POISINDEX® System, Merative US L.P.; 2023 [cited 2023 Apr 25]. Available from: https://www.micromedexsolutions.com (Subscription required to view)
Blohm E, Brush DE. Marine envenomations. In: Hoffman RS, Howland MA, Lewin NA, Nelson LS, Goldfrank LR, Flomenbaum N, editors. Goldfrank’s toxicologic emergencies. 11th ed. New York: McGraw-Hill Education; 2019. p. 1567-80.
Marcus EN, Isbister GK. Jellyfish stings. In: UpToDate [Internet]. Waltham (MA): UpToDate, Inc.; 2023 [cited 2023 Apr 25]. Available from: https://www.uptodate.com/contents/jellyfish-stings? search=jellyfish&source=search_result&selectedTitle=1~16&usage_type=default&display_rank=1
Darracq MA. Jellyfish and other Cnidaria. In: Olson KR, editor. Poisoning & drug overdose. 7th ed. San Francisco: McGraw-Hill; 2018. p. 284-6.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล(ประเทศไทย)
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อความภายในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารเภสัชกรรมโรงพยาบาลทั้งหมด รวมถึงรูปภาพประกอบ ตาราง เป็นลิขสิทธิ์ของสมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) การนำเนื้อหา ข้อความหรือข้อคิดเห็น รูปภาพ ตาราง ของบทความไปจัดพิมพ์เผยแพร่ในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ ต้องได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการวารสาร (สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย)) อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร
สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) อนุญาตให้สามารถนำไฟล์บทความไปใช้ประโยชน์และเผยแพร่ต่อได้ โดยอยู่ภายใต้เงื่อนไขสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอน (Creative Commons License: CC) โดย ต้องแสดงที่มาจากวารสาร – ไม่ใช้เพื่อการค้า – ห้ามแก้ไขดัดแปลง, Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)
ข้อความที่ปรากฏในบทความในวารสารเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) และบุคลากรในสมาคมฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเอง ตลอดจนความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความเป็นของผู้เขียน ไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการ