Psoralen-UVA กับการรักษาโรคสะเก็ดเงิน
คำสำคัญ:
โรคสะเก็ดเงิน, สารซอราเลน, PUVA, 8-methoxypsoralenบทคัดย่อ
การรักษาโรคสะเก็ดเงินที่มีความรุนแรงปานกลางถึงรุนแรงมากด้วยสารซอราเลนร่วมกับการฉายรังสีอัลตราไวโอเลตเอ (psoralen-UVA; PUVA) จัดเป็นการรักษาที่มีประสิทธิภาพ มีความปลอดภัย เหมาะสำหรับผู้ป่วยที่ต้องการประสิทธิภาพการรักษามากกว่า topical therapy และต้องการหลีกเลี่ยง systemic medication ทั้งนี้ PUVA มีข้อบ่งใช้กรณีผู้ป่วยไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วย narrow band-UVB การออกฤทธิ์ของ PUVA มี 4 กลไก คือ 1) เปลี่ยนแปลงระดับ cytokines 2) เหนี่ยวนำให้เกิดการตายของเซลล์แบบ apoptosis 3) ส่งเสริมกระบวนการกดภูมิคุ้มกัน 4) กลไกเพิ่มเติมอื่น ๆ PUVA มีอาการไม่พึงประสงค์ระยะยาวด้าน photocarcinogenesis ที่มักเกิดจาก psoralen ใน PUVA ในรูปแบบรับประทาน รูปแบบยาใช้ภายนอกจึงเป็นทางเลือกในการรักษาที่ดีเพราะอาการไม่พึงประสงค์น้อยกว่า และเหมาะกับการรักษาโรคสะเก็ดเงินเฉพาะที่ การเตรียมตำรับสารละลาย psoralen ที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญเนื่องจากส่งผลต่อประสิทธิภาพในการรักษาโรคสะเก็ดเงิน เพื่อให้อาการของโรคสงบ และเพิ่มคุณภาพชีวิตโดยรวมของผู้ป่วยให้ดำรงชีวิตประจำวันได้อย่างปกติ
References
Li L, Taliercio M, Hashim PW, Kimmel G, Nia JK. Palmoplantar psoriasis: a review of topical therapies. Glob Dermatol. 2016;3(6):387-93. doi: 10.15761/GOD.1000196.
เบ็ญจ์สชีว์ ปัทมดิลก. โรคสะเก็ดเงิน Psoriasis [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพมหานคร: สถาบันโรคผิวหนัง กรมการแพทย์; 2561 [สืบค้นเมื่อ 20 ธ.ค. 2565]. สืบค้นจาก: https://www.iod.go.th/wp-content/uploads/2020/10/news_29.pdf
Elmets CA, Lim HW, Stoff B, Connor C, Cordoro KM, Lebwohl M, et al. Joint American Academy of Dermatology-National Psoriasis Foundation guidelines of care for the management and treatment of psoriasis with phototherapy. J Am Acad Dermatol. 2019;81(3):775-804. doi: 10.1016/j.jaad.2019.04.042.
Ibbotson SH. A perspective on the use of NB-UVB phototherapy vs. PUVA photochemotherapy. Front Med. 2018;5:184. doi: 10.3389/fmed.2018.00184.
Ling TC, Clayton TH, Crawley J, Exton LS, Goulden V, Ibbotson S, et al. British Association of Dermatologists and British Photodermatology Group guidelines for the safe and effective use of psoralen–ultraviolet A therapy 2015. Br J Dermatol. 2016;174(1):24-55. doi: 10.1111/bjd.14317.
Debta FM, Ghom A, Debta P, Deoghare A. Photochemotherapy (PUVA): an overview. J Indian Acad Oral Med Radiol. 2010;22(3):141-3. doi: 10.5005/jp-journals-10011-1033.
Delrosso G, Savoia P. Effectiveness and safety of topical phototherapy in the treatment of dermatological diseases. In: Tanaka Y, editor. Photomedicine - advances in clinical practice. London: InTechOpen; 2017. p. 137-152. doi: 10.5772/65712.
Pai S, Shetty S. Guidelines for bath PUVA, bathing suit PUVA and soak PUVA. Indian J Dermatol Venereol Leprol. 2015; 81(6):559-67. doi: 10.4103/0378-6323.168336.
Diekmann J, Theves I, Thom KA, Gilch P. Tracing the photoaddition of pharmaceutical psoralens to DNA. Molecules. 2020;25(22):5242. doi: 10.3390/molecules25225242.
Wong T, Hsu L, Liao W. Phototherapy in psoriasis: a review of mechanisms of action. J Cutan Med Surg. 2013;17(1):6-12. doi: 10.2310/7750.2012.11124.
LiverTox®. Clinical and research information on drug-induced liver injury. Bethesda (MD): National Institute of Diabetes and Digestive and Kidney Diseases; 2012. PMID: 31643176.
USP 29. Methoxsalen topical solution [Internet]. Rockville, MD: United States Pharmacopeial Convention Incorporated; 2006 [cited 2022 Dec 20]. Available from: http://www.pharmacopeia.cn/v29240/usp29nf24s0_m51660.html
U.S. Pharmacopeia. Proposed revisions to USP general chapter (795) Pharmaceutical compounding – nonsterile preparations [Internet]. Rockville, MD: United States Pharmacopeial Convention Incorporated; 2022 [cited 2022 Dec 20]. Available from: https://www.usp.org/sites/default/files/usp/document/stakeholder-forum/795-open-forum-01-12-2022.pdf
USP 29. Methoxsalen [Internet]. Rockville, MD: United States Pharmacopeial Convention Incorporated; 2006 [cited 2022 Dec 20]. Available from: http://www.pharmacopeia.cn/v29240/usp29nf24s0_m51640.html
USP 29. Reference tables: description and solubility - M [Internet]. Rockville, MD: United States Pharmacopeial Convention Incorporated; 2006 [cited 2022 Dec 20]. Available from: http://www.pharmacopeia.cn/v29240/usp29nf24s0_alpha-2-22.html
Rowe RC, Sheskey PJ, Quinn ME, editors. Handbook of pharmaceutical excipients. 6th ed. London: Pharmaceutical Press and the American Pharmacists Association; 2009.
Honigsmann H, Fitzpatrick TB, Pathak MA, Wolff K. Oral photochemotherapy with psoralen and UVA (PUVA): principles and practice. In: Fitzpatrick TB, Eisen AZ, Wolf K, editors. Dermatology in general medicine. New York: McGraw-Hill; 1987. p. 1728-54.
Wu JH, Jones NJ. Assessment of DNA interstrand crosslinks using the modified alkaline comet assay. Methods Mol Biol. 2012;817:165-81. doi: 10.1007/978-1-61779-421-6_9.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล(ประเทศไทย)
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อความภายในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารเภสัชกรรมโรงพยาบาลทั้งหมด รวมถึงรูปภาพประกอบ ตาราง เป็นลิขสิทธิ์ของสมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) การนำเนื้อหา ข้อความหรือข้อคิดเห็น รูปภาพ ตาราง ของบทความไปจัดพิมพ์เผยแพร่ในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ ต้องได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการวารสาร (สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย)) อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร
สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) อนุญาตให้สามารถนำไฟล์บทความไปใช้ประโยชน์และเผยแพร่ต่อได้ โดยอยู่ภายใต้เงื่อนไขสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอน (Creative Commons License: CC) โดย ต้องแสดงที่มาจากวารสาร – ไม่ใช้เพื่อการค้า – ห้ามแก้ไขดัดแปลง, Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)
ข้อความที่ปรากฏในบทความในวารสารเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) และบุคลากรในสมาคมฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเอง ตลอดจนความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความเป็นของผู้เขียน ไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการ