ประสิทธิภาพของยาลดระดับน้ำตาลในเลือดในการลดน้ำหนักสำหรับผู้ป่วยโรคอ้วนที่มีโรคเบาหวานประเภทที่ 2 ร่วมด้วย
คำสำคัญ:
โรคอ้วน, โรคเบาหวานประเภทที่2, ยาลดระดับน้ำตาล, น้ำหนักลดบทคัดย่อ
โรคอ้วน เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ที่เป็นสาเหตุนำไปสู่โรคต่างๆ เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน โรคไตเรื้อรัง เป็นต้น โรคอ้วนและโรคแทรกซ้อนที่เกิดจากโรคอ้วนเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญทั้งในระดับประเทศและระดับโลก ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย การเจ็บป่วยและเสียชีวิตก่อนวัยอันควร หนึ่งในโรคแทรกซ้อนที่กำลังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทั่วโลกและเป็นปัญหาทางสาธารณสุข ได้แก่ โรคเบาหวานประเภทที่ 2 จากหลายงานวิจัยพบว่า ยาสำหรับลดระดับน้ำตาลในเลือด ได้แก่ biguanides, amylin analogues, sodium glucose co-transporter subtype 2 (SGLT2) inhibitors, glucagon-like peptide-1 (GLP-1) receptor agonists และ dual glucose-dependent insulinotropic polypeptides/glucagon-like peptide-1 (GIP/GLP-1) receptor agonists มีประสิทธิภาพทั้งในการลดระดับ hemoglobin A1c (HbA1c) และลดน้ำหนักตัว ดังนั้นการเลือกใช้ยาสำหรับผู้ป่วยโรคอ้วนที่มีโรคเบาหวานประเภทที่ 2 ร่วมด้วย จำเป็นต้องพิจารณาว่ายากลุ่มนั้นมีผลกับน้ำหนักตัวหรือไม่ และควรหลีกเลี่ยงยากลุ่มที่มีผลทำให้น้ำหนักตัวเพิ่ม ยาลดระดับน้ำตาลที่ได้รับการรับรองจากองค์การอาหารและยาแห่งสหรัฐอเมริกา (US FDA) สำหรับข้อบ่งใช้การลดน้ำหนัก ได้แก่ liraglutide, semaglutide และ tirzepatide สำหรับประเทศไทยยาที่ได้รับการรับรองจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาของประเทศไทย สำหรับข้อบ่งใช้การลดน้ำหนัก ได้แก่ liraglutide รูปแบบ prefilled pen ความแรง 6 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร และ semaglutide รูปแบบ Flextouch®ความแรง 0.25, 0.5, 1, 1.7 และ 2.4 มิลลิกรัมต่อขนาดยา ในการประเมินผลการรักษา ถ้าน้ำหนักลดมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 5 จากน้ำหนักตัวเริ่มต้นใน 3 เดือนแรกจะพิจารณาใช้ยาต่อเนื่อง แต่หากน้ำหนักลดน้อยกว่าร้อยละ 5 แนะนำให้หยุดยาและพิจารณาหาทางเลือกอื่นๆในการรักษา
References
Bramante CT, Lee CJ, Gudzune KA. Treatment of obesity in patients with diabetes. Diabetes Spectr. 2017;30(4):237-43. doi: 10.2337/ds17-0030.
กรมการแพทย์ สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์. แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและดูแลรักษาโรคอ้วน [อินเทอร์เน็ต]. นนทบุรี: สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข; 2553 [สืบค้นเมื่อ 5 ธ.ค. 2566]. สืบค้นจาก: http://www.imrta.dms.moph.go.th/imrta/images/pdf_cpg/2553/53-4.pdf
ElSayed NA, Aleppo G, Aroda VR, Bannuru RR, Brown FM, Bruemmer D, et al. 8. Obesity and weight management for the prevention and treatment of type 2 diabetes: Standards of care in diabetes-2023. Diabetes Care. 2023;46(Suppl 1):S128-39. doi: 10.2337/dc23-S008.
World Obesity Federation. World Obesity Atlas 2023. [Internet]. London: World Obesity Federation; 2023 [cited 2023 Jul 29]. Available from: https://data.worldobesity.org/publications/?cat=19
Lazzaroni E, Ben Nasr M, Loretelli C, Pastore I, Plebani L, Lunati ME, et al. Anti-diabetic drugs and weight loss in patients with type 2 diabetes. Pharmacol Res. 2021;171:105782. doi: 10.1016/j.phrs.2021.105782.
Intarakamhang P, Chansaenwilai P, Kaewput W, Thakhampaeng P, Lertwanichwattana T, Intarakamhang U. Prevalence and factors of overweight and obesity among medical personnel in a district hospital. J Med Assoc Thai. 2023;106(10):956-64. doi: 10.35755/jmedassocthai.2023.10.13896.
Bays HE, Bindlish S, Clayton TL. Obesity, diabetes mellitus, and cardiometabolic risk: an Obesity Medicine Association (OMA) Clinical Practice Statement (CPS) 2023. Obes Pillars. 2023;5:100056. doi: 10.1016/j.obpill.2023.100056.
กิติยศ ยศสมบัติ. บทบาทของเภสัชกรชุมชนในการรักษาโรคอ้วน [อินเทอร์เน็ต]. นนทบุรี: ศูนย์การศึกษาต่อเนื่องทางเภสัชศาสตร์ สภาเภสัชกรรม; 2561 [สืบค้นเมื่อ 5 ธ.ค. 2566]. สืบค้นจาก: https://ccpe.pharmacycouncil.org/index.php?option=article_detail&subpage=article_detail&id=475
ElSayed NA, Aleppo G, Aroda VR, Bannuru RR, Brown FM, Bruemmer D, et al. 9. Pharmacologic approaches to glycemic treatment: Standards of care in diabetes-2023. Diabetes Care. 2023; 46(Suppl 1):S140-57. doi: 10.2337/dc23-S009.
Chen S. New trial results position Mounjaro for FDA weight loss drug approval [Internet]. San Francisco: The diaTribe Foundation; 2023 [cited 2023 Jul 16]. Available from: https://diatribe.org/new-lilly-trial-results-show-big-weight-loss-results-positioning-mounjaro-obesity-drug-approval
สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, สมาคมต่อมไร้ท่อแห่งประเทศไทย. แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2566 [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพมหานคร: สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และ สมาคมต่อมไร้ท่อแห่งประเทศไทย; 2566 [สืบค้นเมื่อ 5 ธ.ค. 2566]. สืบค้นจาก: https://www.uckkpho.com/wp-content/uploads/2023/08/CPG.DM2566.pdf
Garber AJ, Handelsman Y, Grunberger G, Einhorn D, Abrahamson MJ, Barzilay JI, et al. Consensus statement by the American Association of Clinical Endocrinologists and American College of Endocrinology on the comprehensive type 2 diabetes management algorithm – 2020 executive summary. Endocr Pract. 2020;26(1):107-39. doi: 10.4158/CS-2019-0472.
Kahan S, Fujioka K. Obesity pharmacotherapy in patients with type 2 diabetes. Diabetes Spectr. 2017;30(4):250-7. doi: 10.2337/ds17-0044.
ต่อศักดิ์ อินทรไพโรจน์, ปัทมวรรณ เผือกผ่อง. ฮอร์โมนจากเนื้อเยื่อไขมัน: เลปทิน อดิโพเนคทิน และ รีซิสทิน.วารสารไทยไภษัชยนิพนธ. 2554;6(1):139-54. doi: 10.14456/tbps.2011.10.
อรภา สุธีโรจน์ตระกูล. การรักษาโรคอ้วนในวัยรุ่น. จุฬาลงกรณ์เวชสาร. 2561;62(6):1067-80. doi: 10.14456/clmj.2018.21.
Barlow B, Barlow A. Management of obesity in patients with diabetes. US Pharm [Internet]. 2021 [cited 2023 Jul 16];46(11):31-42. Available from: https://www.uspharmacist.com/article/management-of-obesity-in-patients-with-diabetes
Pu R, Shi D, Gan T, Ren X, Ba Y, Huo Y, et al. Effects of metformin in obesity treatment in different populations: a meta-analysis. Ther Adv Endocrinol Metab. 2020;11: 2042018820926000. doi: 10.1177/2042018820926000.
Dehestani B, Stratford NR, le Roux CW. Amylin as a future obesity treatment. J Obes Metab Syndr. 2021;30(4):320-5. doi: 10.7570/jomes21071.
Hollander P, Maggs DG, Ruggles JA, Fineman M, Shen L, Kolterman OG, et al. Effect of pramlintide on weight in overweight and obese insulin-treated type 2 diabetes patients. Obes Res. 2004;12(4):661-8. doi: 10.1038/oby.2004.76.
Cheong AJY, Teo YN, Teo YH, Syn NL, Ong HT, Ting AZH, et al. SGLT inhibitors on weight and body mass: a meta-analysis of 116 randomized-controlled trials. Obesity (Silver Spring). 2022;30(1):117-28. doi: 10.1002/oby.23331.
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. SAXENDA® [อินเทอร์เน็ต]. นนทบุรี: สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา; 2566 [สืบค้นเมื่อ 4 ธ.ค. 2566]. สืบค้นจาก: http://pertento.fda.moph.go.th/FDA_SEARCH_DRUG/SEARCH_DRUG/pop-up_drug_ex.aspx?Newcode=U1DR1C10B2601500311C
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. WEGOVY® 0.25 MG FLEXTOUCH [อินเทอร์เน็ต]. นนทบุรี: สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา; 2566 [สืบค้นเมื่อ 4 ธ.ค. 2566]. สืบค้นจาก: http://pertento.fda.moph.go.th/FDA_SEARCH_DRUG/SEARCH_DRUG/pop-up_drug_ex.aspx?Newcode=U1DR1C1072661505311C
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. WEGOVY® 0.5 MG FLEXTOUCH [อินเทอร์เน็ต]. นนทบุรี: สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา; 2566 [สืบค้นเมื่อ 4 ธ.ค. 2566]. สืบค้นจาก: http://pertento.fda.moph.go.th/FDA_SEARCH_DRUG/SEARCH_DRUG/pop-up_drug_ex.aspx?Newcode=U1DR1C1072661505411C
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. WEGOVY® 1 MG FLEXTOUCH [อินเทอร์เน็ต]. นนทบุรี: สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา; 2566 [สืบค้นเมื่อ 4 ธ.ค. 2566]. สืบค้นจาก: http://pertento.fda.moph.go.th/FDA_SEARCH_DRUG/SEARCH_DRUG/pop-up_drug_ex.aspx?Newcode=U1DR1C1072661505511C
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. WEGOVY® 1.7 MG FLEXTOUCH [อินเทอร์เน็ต]. นนทบุรี: สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา; 2566 [สืบค้นเมื่อ 4 ธ.ค. 2566]. สืบค้นจาก: http://pertento.fda.moph.go.th/FDA_SEARCH_DRUG/SEARCH_DRUG/pop-up_drug_ex.aspx?Newcode=U1DR1C1072661505611C
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. WEGOVY® 2.4 MG FLEXTOUCH [อินเทอร์เน็ต]. นนทบุรี: สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา; 2566 [สืบค้นเมื่อ 4 ธ.ค. 2566]. สืบค้นจาก: http://pertento.fda.moph.go.th/FDA_SEARCH_DRUG/SEARCH_DRUG/pop-up_drug_ex.aspx?Newcode=U1DR1C1072661505711C
Novo Nordisk Inc.. Wegovy® dosing schedule for adults. Plainsboro (NJ): Novo Nordisk Inc.; 2023 [cited 2023 Dec 5]. Available from: https://www.wegovy.com/taking-wegovy/dosing-schedule.html
Davies MJ, Bergenstal R, Bode B, Kushner RF, Lewin A, Skjøth TV, et al. Efficacy of liraglutide for weight loss among patients with type 2 diabetes: the SCALE diabetes randomized clinical trial. JAMA. 2015;314(7):687-99. doi: 10.1001/jama.2015.9676.
Davies MJ, Færch L, Jeppesen OK, Pakseresht A, Pedersen SD, Perreault L, et al. Semaglutide 2.4 mg once a week in adults with overweight or obesity, and type 2 diabetes (STEP 2): a randomised, double-blind, double-dummy, placebo-controlled, phase 3 trial. Lancet. 2021. 397(10278):971-84. doi: 10.1016/S0140-6736(21)00213-0.
Min T, Bain SC. The role of tirzepatide, dual GIP and GLP-1 receptor agonist, in the management of type 2 diabetes: The SURPASS clinical trials. Diabetes Ther. 2021;12(1):143-57. doi: 10.1007/s13300-020-00981-0.
Eli Lilly and Company. ZEPBOUND® (tirzepatide) injection, for subcutaneous use [Internet]. Indianapolis: Eli Lilly and Company; 2023 [cited 2023 Dec 5]. Available from: https://pi.lilly.com/us/zepbound-uspi.pdf
Garvey WT, Frias JP, Jastreboff AM, le Roux CW, Sattar N, Aizenberg D, et al. Tirzepatide once weekly for the treatment of obesity in people with type 2 diabetes (SURMOUNT-2): a double-blind, randomised, multicentre, placebo-controlled, phase 3 trial. Lancet. 2023;402(10402):613-26. doi: 10.1016/S0140-6736(23)01200-X.
Ruze R, Liu T, Zou X, Song J, Chen Y, Xu R, et al. Obesity and type 2 diabetes mellitus: connections in epidemiology, pathogenesis, and treatments. Front Endocrinol (Lausanne). 2023;14:1161521. doi: 10.3389/fendo.2023.1161521.
Tuttle KR. Chapter 11 - Complications and management of chronic kidney disease: diabetes. In: ScienceDirect [Internet]. Amsterdam: Elsevier Inc; 2010 [cited 2023 Jul 16]. Available from: https://www.sciencedirect.com/science/article/abs/pii/B978143770987200011X
Janež A, Fioretto P. SGLT2 inhibitors and the clinical implications of associated weight loss in type 2 diabetes: A narrative review. Diabetes Ther. 2021;12(8):2249-61. doi: 10.1007/s13300-021-01104-z.
เกียรติเกรียงไกร โกยรัตโกศล, ณรรฐนน กาญจนถม. ความปลอดภัยของการใช้ยากลุ่ม sodium-glucose cotransporter 2 (SGLT2) inhibitors ในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 (type 2 diabetes mellitus) [อินเทอร์เน็ต]. นนทบุรี: ศูนย์การศึกษาต่อเนื่องทางเภสัชศาสตร์ สภาเภสัชกรรม; 2559 [สืบค้นเมื่อ 8 ก.ย. 2566]. สืบค้นจาก: https://ccpe.pharmacycouncil.org/index.php?option=article_detail&subpage=article_detail&id=141
Nauck MA, D'Alessio DA. Tirzepatide, a dual GIP/GLP-1 receptor co-agonist for the treatment of type 2 diabetes with unmatched effectiveness regrading glycaemic control and body weight reduction. Cardiovasc Diabetol. 2022;21(1):169. doi: 10.1186/s12933-022-01604-7.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล(ประเทศไทย)
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อความภายในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารเภสัชกรรมโรงพยาบาลทั้งหมด รวมถึงรูปภาพประกอบ ตาราง เป็นลิขสิทธิ์ของสมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) การนำเนื้อหา ข้อความหรือข้อคิดเห็น รูปภาพ ตาราง ของบทความไปจัดพิมพ์เผยแพร่ในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ ต้องได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการวารสาร (สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย)) อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร
สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) อนุญาตให้สามารถนำไฟล์บทความไปใช้ประโยชน์และเผยแพร่ต่อได้ โดยอยู่ภายใต้เงื่อนไขสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอน (Creative Commons License: CC) โดย ต้องแสดงที่มาจากวารสาร – ไม่ใช้เพื่อการค้า – ห้ามแก้ไขดัดแปลง, Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)
ข้อความที่ปรากฏในบทความในวารสารเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) และบุคลากรในสมาคมฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเอง ตลอดจนความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความเป็นของผู้เขียน ไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการ