ประสิทธิผลการป้องกันการเกิดแผลกดทับของที่นอนชนิดไม่มีการ เคลื่อนที่ของลมและชนิดที่มีการเคลื่อนที่ของลม : การศึกษาเบื้องต้น;Effcacy of a Visco-Elastic Foam Mattress and Alternating-Pressure Air Mattress in Preventing Pressure Ulcers: A Preliminary Study

Authors

  • พรทิพย์ สารีโส
  • ปิยะภร ไพรสนธิ์ สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
  • อโณทัย เฉลิมศรี โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์ จังหวัดนครสวรรค์

Keywords:

ที่นอนเสริมลดแรงกด, แผลกดทับ, ผู้สูงอาย, visco-elastic foam mattress, pressure ulcers, elderly people

Abstract

Objective: To develop a visco-elastic foam mattress and test its effcacy in
preventing elderly patients from developing pressure ulcers.
Design: Experimental and developmental research.
Procedure: The subjects, 12 elderly patients being treated in a critical ward,
were randomly and equally divided into a control group and an experimental
group.Both groups received pressure ulcer risk assessment using Braden’s
Scale on the 1st, 3rd, 7th and 14th days, and Bergstrom’s
skin condition assessment every day. Both groups were given
the hospital’s standard pressure ulcer prevention care, but whilst the
control group subjects slept on alternating-pressure air mattresses,
the experimental group subjects slept on visco-elastic foam mattresses.
The data were analysed based on frequency, percentage, chi-square
statistics and Fisher’s exact probability test.
Results: Of all the 12 subjects, 4 developed pressure ulcers, 2 from each
group.The pressure ulcers developed on the 6th and the 10th days
in the control group and on the 6th and the 7th days in the experimental
group, respectively. When age range,degree of pressure ulcer risk,
level of blood albumin and body mass index were
factored in, no signifcant difference in pressure ulcer development
was found between the 2 groups (p < 0.05).
Recommendations: It is recommended that further studies
focus on (1) extending the experiment time to determine the life
of this innovative mattress; and
(2) enlarging the sample size and evaluating
the users’ satisfaction with this innovative product.


วัตถุประสงค์ของการวิจัย : พัฒนาและทดสอบประสิทธิผลการป้องกันการเกิดแผลกดทับ
ของที่นอนเสริมลดแรงกดชนิดไม่มีการเคลื่อนที่ของลมในผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยง
ต่อการเกิดแผลกดทับ
การออกแบบการวิจัย : การวิจัยเชิงพัฒนาทดลอง
วิธีดำเนินการวิจัย : กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยศัลยกรรม
กึ่งวิกฤต จำนวน 12 คน จัดเข้ากลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองกลุ่มละ 6 คนโดยวิธีการสุ่ม
ประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับโดยใช้แบบประเมินของบราเดนในวันแรกรับ วันที่ 3,
7 และ 14 และประเมินผิวหนังโดยแบบประเมินสภาพผิวหนังของเบอร์กสตรอมทุกวัน
กลุ่มตัวอย่างทั้ง 2 กลุ่มได้รับการดูแลตามมาตรฐานการป้องกันแผลกดทับของโรงพยาบาล
กลุ่มทดลองนอนบนที่นอนเสริมลดแรงกดและกลุ่มควบคุมนอนบนที่นอนชนิดที่มีการ
เคลื่อนที่ของลม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ สถิติไคสแควร์และ
สถิติการทดสอบของฟิชเชอร์
ผลการวิจัย : กลุ่มตัวอย่าง 12 คน เกิดแผลกดทับ 4 คน เป็นกลุ่มควบคุม 2 คนและ
กลุ่มทดลอง 2 คน กลุ่มควบคุมเริ่มเกิดแผลกดทับในวันที่ 6 และวันที่ 10 ตามลำดับ กลุ่ม
ทดลองเริ่มเกิดแผลกดทับ ในวันที่ 6 และวันที่ 7 ตามลำดับ เมื่อจำแนกช่วงอายุ ระดับความเสี่ยง
ต่อการเกิดแผลกดทับ ระดับอัลบูมินในเลือดและดัชนีมวลกาย พบว่า การเกิดแผลกดทับ
ในกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุมไม่มีความแตกต่างกัน (p < 0.05)
ข้อเสนอแนะ : ควรมีการศึกษาเพิ่มเติม ดังนี้ 1) ขยายเวลาของโปรแกรมในการนอน
บนที่นอนนวัตกรรมให้นานขึ้นเพื่อศึกษาถึงอายุการใช้งานของที่นอนนวัตกรรม 2) เพิ่ม
กลุ่มตัวอย่างให้มีขนาดใหญ่ขึ้นและ ประเมินความพึงพอใจในการใช้นวัตกรรมที่นอนจากผู้ใช้



Downloads

Download data is not yet available.

Downloads

Published

2016-11-01

How to Cite

1.
สารีโส พ, ไพรสนธิ์ ป, เฉลิมศรี อ. ประสิทธิผลการป้องกันการเกิดแผลกดทับของที่นอนชนิดไม่มีการ เคลื่อนที่ของลมและชนิดที่มีการเคลื่อนที่ของลม : การศึกษาเบื้องต้น;Effcacy of a Visco-Elastic Foam Mattress and Alternating-Pressure Air Mattress in Preventing Pressure Ulcers: A Preliminary Study. J Thai Nurse midwife Counc [Internet]. 2016 Nov. 1 [cited 2024 Dec. 22];31(3):83-96. Available from: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TJONC/article/view/49845