บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสื่อประสมเพื่อส่งเสริมการตรวจเต้านม ด้วยตนเองในนักศึกษาสายอาชีพ; Computer-Mediated Multimedia Breast Self-Examination Programme for Vocational Students

Authors

  • ปวณา ยนพันธ์ Siriraj Hospital, Mahidol University
  • จุฬารักษ์ กวีวิวิธชัย Mahidol university
  • นรีมาลย์ นีละไพจิตร Mahidol university

Keywords:

โรคมะเร็งเต้านม, การตรวจเต้านมด้วยตนเอง, บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสื่อประสม, Breast cancer, Breast self -examination, computer-mediated multimedia programme, vocational students, breast cancer knowledge

Abstract

บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อพัฒนา และศึกษาผลของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
สื่อประสมต่อความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านม การตรวจเต้านมด้วยตนเอง การรับรู้ควำมสามารถของ
ตนเอง กำรรับรู้ประโยชน์และการรับรู้อุปสรรคในการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ทักษะปฏิบัติการตรวจ
เต้ำนมด้วยตนเอง
การออกแบบวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลองแบบ 2 กลุ่มวัดก่อนและหลังกำรทดลอง
วิธีดำเนินการวิจัย: การวิจัยครั้งนี้แบ่งออกเป็น 2 ระยะคือ 1) ผลิตสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์
ช่วยสอนโดยใช้แนวคิดทฤษฎีกำรส่งเสริมสุขภำพของเพนเดอร์และทฤษฎีการเรียนรู้โดยมัลติมีเดีย
ของเมเยอร์ 2) ทดสอบผลของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มตัวอย่ำง เป็นนักศึกษาหญิง
ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์คัดเข้าจำนวน 54 คน จำกวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและวิทยาลัยเกษตร
และเทคโนโลยี เป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบกลุ่มละ 27 คน กลุ่มทดลองใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์
ช่วยสอนสื่อประสม กลุ่มเปรียบเทียบใช้วิธีบรรยาย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป
แบบทดสอบความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมและกำรตรวจเต้านมด้วยตนเอง แบบสอบถามการรับรู้
ความสามารถของตนเอง แบบสอบถามการรับรู้ประโยชน์และอุปสรรคในการตรวจเต้านมด้วยตนเอง
แบบประเมินทักษะปฏิบัติการตรวจเต้านมด้วยตนเอง และแบบประเมินความคิดเห็นต่อคุณภาพ
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และ Mann-Whitney Test
ผลการวิจัย: พบว่ำ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสื่อประสมมีคุณภาพอยู่ในระดับดีถึงดีมาก
ทุกด้าน ความคิดเห็นของกลุ่มทดลองต่อคุณภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนอยู่ในระดับมาก หลัง
กำรทดลอง พบว่า กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยความแตกต่างของคะแนนหลังทดลองมากกว่าก่อนการทดลอง
ในเรื่องความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมและมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่ำงมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05)
ส่วนค่าเฉลี่ยความแตกต่างของคะแนน ความสามารถในการตรวจเต้านมด้วยตนเอง การรับรู้ประโยชน์
และการรับรู้อุปสรรค และทักษะการตรวจเต้านมระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบไม่แตกต่างกัน
ข้อเสนอแนะ: บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสื่อประสมเพื่อการตรวจเต้านมด้วยตนเอง
มีประโยชน์ในการเสริมทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ ใกล้เคียงกับกำรสอนโดยวิธีบรรยำย
สำมำรถนำมาใช้ช่วยสอน หรือร่วมกับการสอนวิธีอื่นๆได้

Abstract: Objective: To develop a computer-mediated multimedia programme and study its
impact on breast cancer knowledge, breast self-examination, self-effcacy perception,
perception of benefts and barriers of breast self-examination and breast self-examination skill.
Design: Two-group experimental research with a pre-test and a post-test.
Implementation: This study was conducted in 2 phases. In phase 1, a computermediated multimedia programme was developed based on Pender’s Health Promoting
Model and Mayor’s Multimedia Learning Theory. In phase 2, the computer-mediated
programme was administered to the participants, 54 students from a college of industrial
technology and a college of agriculture and technology, sampled according to the inclusion
criteria. The participants were equally divided into an experimental group and a comparison
group. The experimental group used the computer-mediated multimedia programme, whilst
the comparison group was given a lecture. Data were collected by means of (1) a general
information questionnaire; (2) a breast cancer and breast self-examination knowledge
questionnaire; (3) a perceived self-effcacy questionnaire; (4) a perceived benefts and
barriers questionnaire; (5) a breast self-examination skill evaluation form; and (6) a
quality evaluation form for the computer-mediated multimedia programme. Descriptive
statistics and the Mann-Whitney Test were used for data analysis.
Results: Overall, the computer-mediated multimedia programme was rated as highly
and very highly effective in every aspect, and was rated as highly satisfactory by the experimental
group. After the experiment, the experimental group’s average breast cancer knowledge score
was signifcantly higher than their pre-experiment score and the comparison group’s (p < .05).
However, no signifcant differences were found between the experimental group’s and the
comparison group’s average scores for self-effcacy perception, perception of benefts
and barriers and breast self-examination skill.
Recommendations: The computer-mediated multimedia programme could contribute
to building a breast self-examination skill as effectively as a lecture. It is suggested that
this programme be applied as an alternative or complementary lesson.

Downloads

Download data is not yet available.

Author Biography

ปวณา ยนพันธ์, Siriraj Hospital, Mahidol University

pediatric deparment at Siriraj Hospital

Downloads

Published

2017-02-24

How to Cite

1.
ยนพันธ์ ป, กวีวิวิธชัย จ, นีละไพจิตร น. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสื่อประสมเพื่อส่งเสริมการตรวจเต้านม ด้วยตนเองในนักศึกษาสายอาชีพ; Computer-Mediated Multimedia Breast Self-Examination Programme for Vocational Students. J Thai Nurse midwife Counc [Internet]. 2017 Feb. 24 [cited 2024 Dec. 23];31(4):91-103. Available from: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TJONC/article/view/72151