ความคุ้นเคย ความไว้วางใจ และค่านิยมด้านพฤติกรรมสุขภาพ: แนวโน้มการเลือกใช้ยาเพร็พ (PrEP) และการใช้หรือไม่ใช้ถุงยางอนามัยของกลุ่มประชากรหลักฯ ที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ เอชไอวีในยุคปัจจุบัน

ผู้แต่ง

  • ณัฏฐวัฒน์ ตั้งปฐมวงศ์ วัดอุโมงค์ (สวนพุทธธรรม) จังหวัดเชียงใหม่

DOI:

https://doi.org/10.14456/taj.2020.7

คำสำคัญ:

ความคุ้นเคย, ความไว้วางใจ, ค่านิยม, กลุ่มประชากรหลักที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี, ยาเพร็พ, ถุงยางอนามัย

บทคัดย่อ

        ความคุ้นเคย ความไว้วางใจ และค่านิยม มีผลต่อแนวโน้มในการที่จะเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ยาเพร็พ (PrEP) และการใช้หรือไม่ใช้ถุงยางอนามัยของกลุ่มประชากรหลักฯ ที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีในยุคปัจจุบัน ตัวแปรที่จะช่วยส่งเสริมให้เกิดการเลือกใช้เพร็พและถุงยางอนามัย คือในประเด็นความคุ้นเคย ควรสร้างให้เกิดการรับรู้ในผลิตภัณฑ์ฯ ที่มากยิ่งขึ้น ความไว้วางใจ ควรใส่ใจในแนวคิดด้านความภักดี เพราะความภักดีต่อการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ฯ เป็นตัวการส่งเสริมให้เกิดการดึงดูดให้กลุ่มประชากรหลักฯ มีความมั่นใจเพิ่มมากขึ้น และค่านิยมควรนำเสนอให้มีการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ฯ ที่สามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มประชากรหลักฯ ตามรูปแบบการดำเนินชีวิต ซึ่งแนวทางหนึ่งที่สำคัญในการส่งเสริมความคุ้นเคย ความไว้วางใจ และค่านิยม ได้แก่ มีการจัดสร้าง Page เพื่อให้กลุ่มประชากรหลักฯ มาแลกเปลี่ยนประสบการณ์แนวคิดหรือวิธีการในการดูแลรักษาสุขภาพ รวมถึงการดูแลตนเอง เพื่อแสดงให้เห็นถึงค่านิยมด้านสุขภาพที่เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย และค่านิยมที่มีร่วมกันในปัจจุบัน

References

สุภาษิตสำนวนและคำพังเพย. “สุภาษิตสำนวนและคำพังเพยไทย”. กรุงเทพฯ: แพนด้าเลิร์นนิ่งบุ๊ค, 2553, หน้า 180.

ณัฏฐวัฒน์ ตั้งปฐมวงศ์. “การรณรงค์ประชาสัมพันธ์และปัจจัยพยากรณ์ผลลัพธ์เชิงพฤติกรรมการใช้ถุงยางอนามัยของกลุ่มชายรักชายในซาวน่าเขตกรุงเทพมหานคร”. วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต, (การสื่อสารเชิงกลยุทธ์), บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, 2555, หน้า 100-104.

ชัยชาญ บัวผัน. “ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการใช้ถุงยางอนามัยของกลุ่มชายรักชายในเขตกรุงเทพมหานคร”. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต, (สาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน), คณะพยาบาลศาสตร์: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2559, หน้า 2-3.

ศูนย์อำนวยการบริหารจัดการปัญหาเอดส์แห่งชาติ, “วิเคราะห์สถานการณ์และปัจจัยที่มีผลต่อการติดเชื้อเอชไอวีของกลุ่มเยาวชนในประเทศไทย”. รายงานฉบับย่อ, กรุงเทพฯ: องค์การยูนิเซฟ (UNICEF) กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ (UNFPA) และองค์การเพื่อการศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO), 2560, หน้า 5-7.

สำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์, “แนวทางการจัดบริการยาป้องกันก่อนการสัมผัสเชื้อเอชไอวีในประชากรที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี ประเทศไทย ปี 2561 : HIV - PrEP 2018”. นนทบุรี: กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, 2561, หน้า 1, 13.

Fischer, A. R. H., & Frewer, L. J. Consumer familiarity with foods and the perception of risks and benefit. Food Quality and Preference, 2009. 20 (8), P. 576-585.

Laroche, M., Kim, C., & Zhou, L. Brand familiarity and confidence as determinants of purchase intention: An empirical test in a multiple brand context. Journal of Business Research, 1996. 37 (2), P. 115-120.

Lafferty, B. A., Goldsmith, R. E., & Hult, G. T. M. The impact of the alliance on the partners: A look at cause-brand alliances. Psychology and Marketing, 2004. 21 (7), P. 509-531.

Chocarro, R., Cortinas, M., & Elorz, M. The impact of product category knowledge on consumer use of extrinsic cues: A study involving agrifood products. Food Quality and Preference, 2009. 20 (3), P. 176-186.

Alba, J. W., & Hutchinson, J. W. Dimensions of consumer expertise. Journal of the Consumer Research, 1987. 13(4), P. 411-415.

Campbell, M. C., & Keller, K. L. Brand familiarity and advertising repetition effects. Journal of Consumer Research, 2003. 30 (2), P. 292-304.

Kent, R. J., & Allen, C. T. Competitive interference effects in consumer memory for advertising: The role of brand familiarity. Journal of Marketing, 1994. 58, P. 97-105.

Boyer, E. L. High school: A report on secondary education in America. New York, NY: Harper & Row. 1983. P. 27-31.

Gefen, D. E-commerce: The role of familiarity and trust. Omega: The International Journal of Management Science, 2000. 28, P. 725-737.

Dick, A., Chakravarti, D., & Biehal, G. Memory-based inferences during consumer choice. Journal of Consumer Research, 1990. 17 (1), P. 82–93.

Morgan, R. M., & Hunt, S. D. The commitment-trust theory of relationship marketing. Journal of Marketing, 1994. 58 (3), P. 20-38.

Crotts, J. C., & Turner, G. B. Determinants of intra‐firm trust in buyer seller relationships in the international travel trade. International Journal of Contemporary Hospitality Management, 1999. 11 (2/3), P. 116-123.

McKnight, P. J. An Explanation of top executive pay: A UK study. British Journal of Industrial Relations, 1996. 34 (4), P. 557-566.

Rotter, J. A new scale for the measurement of interpersonal trust. Journal of Personality, 1967. 35, P. 651-665.

Kotler, P. Marketing management. Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall. 2000. P. 24.

Suh, B., Eves, A., & Lumbers, M. Developing a model of organic food choice behavior. Social Behavior and Personality: An International Journal, 2015. 43, P. 217-230.

สุนทรี โคมิน และสนิท สมัครการ. ค่านิยมและระบบค่านิยมไทย เครื่องมือในการสำรวจวัด. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. 2522. หน้า 11-19.

Bellanca, J. A. Values and the search for self. Washington, DC: National Education Association. 1975. P. 16, 64-67.

Zenithal, V. A., Berry, L. L., & Parasuraman, A. An empirical examination of relationships in an extended service quality model. Marketing Science Institute Research Program Series, 1990. 12, P. 90-122.

Howard, G. S. Why do people say nasty things about self-reports?. Journal of Organizational Behavior, 1994. 15 (5), P. 399-404.

สถาบันวิจัยสุขภาพ. “การจ่ายยาต้านไวรัส”. ออนไลน์, (สืบค้นเมื่อ 15 มิถุนายน 2563). เข้าถึงได้จาก http://www.adamslove.org/b.php?cid=62.2563.

UNAIDS. (2012). Thailand launches new AIDS strategy to ‘Get to Zero’. Online, (Retrieved June 15, 2020). Access from http://www.unaids.org/en/resources/presscentre/featurestories/2012/june/20120622thaizero/2020.

Janepanish, P., Dancy, D., & Park, C. Consistent condom use among Thai heterosexual adult males in Bangkok, Thailand. AIDS Care, 2011. 23 (4), P. 460-466.

Promsorn, C., Termvises, P., Ramgomut, A., & Chumpathat, N. The unsafe sexual behavior on condom use of the HIV/AIDS patients at the Bamrasnaradura infection disease institute. International conference AIDS, 2004. July 11-16: abstract no. D12337.

Schiffman,L. G., & Kanuk, L. Consumer behavior (4th ed.). Engle Wood Cliff, NJ : Prentice-Hall. 1991. P.144-145.

ศุภร เสรีรัตน์. พฤติกรรมผู้บริโภค พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: เอ อาร์ บิซิเนส เพรส. 2545. หน้า 48-54.

Aaker, D. A. Managing brand equity : Capitalizing on the value of a brand name. New York : Free press. 1991. P.144-164.

เผยแพร่แล้ว

2020-09-15