ความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อด้านสุขภาพต่อการเกิดมะเร็งกับพฤติกรรมการป้องกันตนเอง ของผู้ประกอบอาชีพริมถนน
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อด้านสุขภาพต่อการเกิดมะเร็งกับพฤติกรรมการป้องกันตนเอง จำนวน 400 คน ในกลุ่มผู้ประกอบอาชีพริมถนน อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม และหาความสัมพันธ์ด้วยสถิติ Pearson‘s Correlation Coefficient
ผลการศึกษาพบว่าความเชื่อด้านสุขภาพโดยรวมอยู่ในระดับสูง โดยระดับการรับรู้โอกาสเสี่ยง การรับรู้ความรุนแรง และการรับรู้ประโยชน์อยู่ในระดับสูง ส่วนการรับรู้อุปสรรคในการป้องกันการเกิดมะเร็งอยู่ในระดับปานกลาง และพฤติกรรมการป้องกันตนเองต่อการเกิดมะเร็งอยู่ในระดับสูงผลการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อด้านสุขภาพกับพฤติกรรมการป้องกันตนเองพบว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ (p < 0.001)โดยพบว่าความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้โอกาสเสี่ยง การรับรู้ความรุนแรงการรับรู้ประโยชน์ และการรับรู้อุปสรรคในการป้องการเกิดมะเร็ง กับพฤติกรรมการป้องกันตนเองมีความสัมพันธ์กันอย่างมีสถิติที่ระดับ (p < 0.001)ดังนั้น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงควรมีการรณรงค์ให้มีการดูแลสุขภาพเชิงรุก เช่น รณรงค์สื่อสารอันตรายจากการรับสัมผัสสารก่อมะเร็ง แนะนำวิธีการป้องกันอันตรายจากสารก่อมะเร็ง จัดให้มีอุปกรณ์ป้องกันสารเคมีส่วนบุคคลแก่กลุ่มผู้ประกอบอาชีพ และแนะนำการใช้อุปกรณ์ที่ถูกชนิด ถูกวิธี
Article Details
References
ผู้รับสัมผัสของตัวทำละลายในพนักงาน: ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ. ชลบุรี: คณะสาธารณสุขศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา; 2554.
2. Okona-Mensah KB, Battershill J, Boobis A, Fielder R. An approach to investigating the
importance of high potency polycyclic aromatic hydrocarbons (PAHs) in the induction of lung cancer by air by air pollution. Food Chem Toxicol 2005; 43: 1103-1116.
3. ฌาณ ปัทมะ พลยง. เปรียบเทียบการรับสัมผัสสารเบนซีนและผลกระทบต่อสุขภาพของกลุ่มผู้ประกอบ
อาชีพริมถนน ในเขตมาบตาพุด จังหวัดระยอง. วารสารความปลอดภัยและสุขภาพ 2558; 8(28): 7-20.
4. Tunsaringkarn T, Siriwong W, Rungsiyothin and Nopparatbundit S. Occupational
Exposure of Gasoline Station Workers to BTEX Compounds in Bangkok, Thailand. The International Journal of Occupational and Environmental Medicine 2012; 3(3): 117-125.
5. Bin J, Hai-long Z, Guo-qiang H, Hui D, Xin-gang L, Hong-tu S, Rui L. Characterization and distribution of polycyclic aromatic hydrocarbon in sediment of Haihe River, Tianjin, Chaina, Chaina. Journal of Environmental Sciences 2007; 19(3): 306-311.
6. Komsan R, Ganjana N. Size Distribution of Particles Generated from Grilling Process. KKU Journal for Public Health Research (KKU-JPHR) 2012; 5(2): 11-20.
7. เศกสันต์ สมิทธิภิญโญ. สารประกอบโพลีไซคลิก อะโรมาติก ไฮโดรคาร์บอน จากการประกอบอาหารประเภททอด. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร; 2550.
8. อนุดิษฐ์ ศรีทองคำ. สารประกอบโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนในฝุ่น PM 10 จากการปิ้งหมู. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร; 2550.
9. Lars B, Erik H, Gerd S. Leukaemia incidence in people living close to an oil refinery.
Environmental Research 2009; 109: 985-990.
10. Gosta A, Lars B, Erik H and Gerd S. Cancer incidence in a petrochemical industry area
in Sweden. Science of the Total Environment 2010; 408: 4482- 4487.
11. Jeffrey M, Switchenkoa CB, Kevin WD, Jean L, Koffb A, Rana B, Barry R, Lance AW,
and Christopher RF. Resolving uncertainty in the spatial relationships between passive benzene exposure and risk of non-Hodgkin lymphoma. Cancer Epidemiol 2016; 41: 139-151.
12. Bloemen A, Youk TD, Bradley KM, Bodner GM. Lymphohaematopoietic cancer risk
among chemical workers exposed to benzene. Occup Environ Med 2004; 61: 270-274.
13. Sorahan LJ and Kinlen RD. Cancer risks in a historical UK cohort of benzene exposed
workers. Occup Environ Med 2005; 62: 231-236.
14. Chatsuda P and Sunisa C. Exposure to benzene among workers in gasoline stations: a
case study in KhonKaen municipality, Muang Khon Kaen. KKU Research Journal 2014; 19(2): 354-361.
15. นันทพร ภัทรพุทธ. ผู้ประกอบอาชีพขับรถจักรยานยนต์รับจ้างกับความเสี่ยงการรับสัมผัสสารเบนซีน
ในจังหวัดชลบุรี. วารสารสาธารณสุขมหาวิทยาลัยบูรพา 2548; 1(1): 75-78.
16. ฉัตรชัย ชุมกระโทก. การตรวจระดับสารเบนซีนในเลือดด้วยเทคนิคเฮดสเปซ-โซลิดเฟสไมโครเอกซ์แทรกชัอนของผู้ประกอบอาชีพที่สัมผัสสารเบนซีน ในเขตเทศบาลนครนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการสิ่งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา; 2551.
17. ดำรงค์ฤทธิ์ แก้วเกื้อ นพนันท์ นานคงแนบ พรพิมล กองทิพย์ และสุคนธา ศิริ การประเมินความเสี่ยงสุขภาพการรับสัมผัสสารอินทรีย์ระเหยง่ายของผู้ประกอบอาชีพค้าขายริมถนนในพื้นที่การจราจรหนาแน่นของกรุงเทพมหานคร. การจัดประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชครั้งที่ 4; 2557.
18. สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. สำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์กาสงเคราะห์ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์; 2558.
19. จันทราวดี พรมโสภณ และ สมคิด ปราบภัย. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันโรคมือเท้าปากของผู้ปกครองและเด็กก่อนวัยเรียน อำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา. วารสารควบคุมโรค2560; 43(4): 356-367.
20. พรแก้ว เหลืองอัมพร แอนน์ จิระพงษ์สุวรรณ สุรินธร กลัมพากร และ สรา อาภรณ์. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมป้องกันอันตรายจากการใช้สารเคมีของช่างเสริมสวยในกรุงเทพมหานคร. วารสารพยาบาลสาธารณสุข 2014; 28(2): 52-64.
21. Penrawee M, Kitiphong H, Mayuna S and Orawan K. Cancer Risk Perception and Preventive Behaviors among Grilled Meat Vendors. J Med Assoc Thai 2012; 95(6): 56-60.
22. Rosenstock. Health Belief Model. Health Education Monographs 1974; 2(4): 334.
23. Best John. Research in Education. New Jersey: Prentice Hall; 1997.
24. วาณิชา โขมพัฒน์ และ ศุภาภาส คำโตนด. การรับรู้ความเสี่ยง และพฤติกรรมด้านความปลอดภัยของพนักงานปฏิบัติการสายการผลิตในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารความปลอดภัยและสุขภาพ 2560; 9(33): 6-13.
25. ชนาพร เขื่อนเป๊ก และ ทัศน์พงษ์ ตันติปัญจพร. ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันการสัมผัสมลพิษทางอากาศของผู้ประกอบอาชีพมอเตอร์ไซค์รับจ้างในเขตอำเภอแม่สอดจังหวัดตาก. วารสารความปลอดภัยและสุขภาพ 2559; 9(33): 14-25.
26. สุวรรณดา สงธนู อาภรณ์ทิพย์ บัวเพ็ชร์ และ ปุญญพัฒน์ ไชยเมล์. การรับรู้ความเสี่ยงและพฤติกรรมการป้องกันและควบคุมความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรแผนกซักฟอกโรงพยาบาลชุมชน. วารสารมหาวิทยาลัยทักษิณ2558; 18(3): 188-194.
27. ปิยะนุช บุญวิเศษ มัณฑนา ดำรงศักดิ์ และธีรนุช ห้านิรัติศัย. ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันการสัมผัสฝุ่นธูปในผู้ประกอบอาชีพผลิตธูป. พยาบาลสาร 2556; 40(4): 80-90.
28. มะยาซิน สาเมาะ.ความเชื่อด้านสุขภาพกับการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ตำบลปูยุด อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาสร้างเสริมสุขภาพ, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี; 2551.
29. ทิพวรรณ์ ประสานสอน และพรเทพ แพรขาว. ความสัมพันธ์ระหวางการรับรู้การเกิดโรคและพฤติกรรมการป้องกันการเกิดโรคในบุคคลกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลัน. วารสารสมาคมพยาบาลฯสาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2556; 31(2): 36-43.
30. Pannipa S, Autchariya P and Penchun S. Predicting Factors of Health Promoting Behaviors to Preventive Environmental Lung Diseases among Motorcycle Taxi Drivers in Bangkok Metropolitan Area. J Nurs Sci 2013; 31(1): 48-58.
31. อัจฉรา จินดาวัฒนวงศ์ นพวรรณ เปียซื่อ และพัชรินทร์ นินทจันทร์. ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความเชื่อด้านสุขภาพกับพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย. รามาธิบดีพยาบาลสาร 2555; 18(1), 58-69.
32. ชญาน์นันท์ ใจดี เสริมศรี สันตติ และชื่นฤดี คงศักดิ์ตระกูล. ปัจจัยที่มีความ สัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันโรคติดเชื้อ เฉียบพลันระบบ หายใจของผู้ดูแลเด็กในสถานรับเลี้ยงเด็ก. รามาธิบดีพยาบาลสาร2555; 18(3): 389-403.
33. อภิชิต แสงปราชญ์. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันโรคมะเร็งตับและมะเร็งท่อน้ำดีของประชาชนจังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการสร้างเสริมสุขภาพ, มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี; 2553.