ประสิทธิผลของรูปแบบการมีส่วนร่วมการสร้างเสริมสุขภาพเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
Main Article Content
บทคัดย่อ
Effectiveness Model of Participation Health Promotion for Quality of Life among the Elderly
การวิจัยและพัฒนา(Research & Development) เพื่อประเมินผลของรูปแบบการมีส่วนร่วมการสร้างเสริมสุขภาพสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลเมืองเมืองปักธงชัย อำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้สูงอายุ จำนวน 46 คน เป็นกลุ่มทดลอง โดยได้รับรูปแบบการมีส่วนร่วมการสร้างเสริมสุขภาพเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เครื่องมือการวิจัย คือ การสร้างเสริมสุขภาพ และแบบประเมินคุณภาพชีวิตขององค์กรอนามัย(WHO) การวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ คะแนนเฉลี่ย ความเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติ One way ANOVA with repeated measures ผลการศึกษา พบว่า คุณภาพชีวิตโดยรวม และคุณภาพชีวิตด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านสัมพันธภาพทางสังคมและด้านสิ่งแวดล้อม ผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเมืองปัก อำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา จากการวัดซ้ำแต่ละครั้งดีขึ้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
The quasi-experimental research was aimed study the eeffectiveness model of participation health promotion for quality of life among the elderly Municipality Muangpak Pak Thong Chai District, Nakhon Ratchasima province 46 elderly people were participated in this study.The instrument consisted of 2 parts; health protion program and questionnaires. Percentage, mean, standard deviation and repeated measures One way ANOVA were applied for data analysis. The results of this study were as follows : The total of quality of life and quality of life physical domain, psychological domain, social relationships and environment Municipality Muangpak Pak thong Chai District, Nakhon Ratchasima province had repeated measurement better at .01 level.
Article Details
References
2. งานส่างเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. แนวโน้มทางประชากร. นนทบุรี: https://hp.anamai.moph.go.th/soongwai/statics/about/soongwai/topic004.php. 2558.
3. ศากุล ช่างไม้. (2550). สังคมไทยกับสถานการณ์ผู้สูงอายุในปัจจุบันและอนาคต. กรุงเทพมหานคร: มติชน.
4. นริสรา พึ่งโพธิ์สภ ฐานศุกร์ จันประเสริฐ. การสังเคราะห์งานวิจัยที่ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางจิตและสังคมที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในประเทศไทย.สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 2555.
5. ระพินทร์ โพธิ์ศรี. สถิติเพื่อการวิจัย. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549; 70-72.
6. สุวัฒน์ มหัตนิรันดร์กุล วิระวรรณ ตันติพิวัฒนสกุล วนิดา พุ่มไพศาลชัย. เครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลกชุดย่อ ฉบับภาษาไทย (WHOQOL – BREF – THAI). เชียงใหม่: โครงการจัดทำโปรแกรมสำเร็จรูปในการสำรวจสุขภาพจิตในพื้นที่. 2554.
7. ศิริพร จิรวัฒน์กุล.การวิจัยเชิงคุณภาพด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ.พิมพ์ครั้งที่ 2 โรงพิมพ์วิทยพัฒน์ กรุงเทพมหานคร. 2552.
8. กรฐณธัช ปัญญาใส จุฑามาศ กิติศรี และพิชชานาถ เงินดี.ประสิทธิผลของโปรแกรมการสร้างเสริมสุขภาพเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตบนพื้นฐานความต้องการของผู้สูงอายุ. The Public Health Journal of Burapha University, 2560; 12(2): 65-74.
9. จรัญญา วงษ์พรหม คีรีบูน จงวุฒิเวศย์ นวลฉวี ประเสริฐสุข และนิรันดร์ จงวุฒิเวศย. การมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอาย. Veridian E-Journal, Slipakorn University, 2558; 8(3 ) : 41-54.
10. ปิ่นนเรศ กาศอุดม มัณฑนา เหมชะญาต. ผลของโปรแกรมการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ ในเขตเทศบาลตำบลบางกะจะ อำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี. Journal of Phrapokklao Nursing College, 2554; 22(2) : 61-70.
11. ลิวรรณ อุนนาภิรักษ์ วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์ วรรณา คงสุริยะนาวิน วิลาสินี เติมเศรษฐเจริญ. ประสิทธิผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพต่อคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุ. Journal of Nursing Science, 2555; 30(2) : 35-45.
12. Word Health Organnization. Ottawa Charter for Health Promotion.An Internation Conference on Health Promotion. Ontario Canada: Ottawa. 1986.
13. Pender NJ. Health Promotion in Nursing Practice. London: Appleton and Lange. 1996.