ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่ออุบัติการณ์การเกิดโรคไข้เลือดออก:การปรับตัวของประชาชนและหน่วยงานรัฐ

Main Article Content

Nittaya Pasukphun

บทคัดย่อ

งานวิจัยน้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนาเพื่อศึกษาการปรับตัวของประชาชนและหน่วยงาน
ของรัฐด้านการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกภายใต้บริบทการเปล่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ในเขตพ้นท่บางพลัด โดยทาการรวบรวมข้อมูลสภาพอากาศ ได้แก่ ปริมาณนาฝน อุณหภูมิตาสุด
และสูงสุด และอุบัติการณ์การเกิดโรคไข้เลือดออกย้อนหลัง 20 ปี (พ.ศ. 2542 - 2561) เพื่อหา
แนวโน้มของสภาพภูมิอากาศท่เปล่ยนแปลงในเขตกรุงเทพมหานคร เป็นแนวทางในการศึกษา
การปรับตัวของประชาชนและหน่วยงานของรัฐในพ้นท่เขตบางพลัด โดยใช้แบบสอบถามประชาชน
ในพ้นท่เขตบางพลัด จานวน 394 หลังคาเรือน 591 ครอบครัว และสัมภาษณ์หัวหน้าหน่วยงานและ
เจ้าหน้าท่ท่ปฏิบัติงานด้านการควบคุมป้องกันโรคของสานักงานเขตบางพลัด ผลการศึกษาการปรับตัว
ของประชาชน พบว่าประชาชนส่วนใหญ่มีการปรับตัว 5 ประเด็น คือ ความสามารถในการสังเกต
การเปล่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและผลกระทบ การจัดการส่งแวดล้อมด้านกายภาพหรือการจัดการ
สิ่งแวดล้อมนอกบ้านและในบ้าน การป้องกันส่วนบุคคล การป้องการการแพร่พันธุ์ และการติดตาม
สถานการณ์โรคและสภาพภูมิอากาศเพ่อป้องกันการแพร่พันธุ์ ในส่วนของการปรับตัวของหน่วยงาน
ภาครัฐเร่มมีการปรับตัวในปี พ.ศ. 2563 โดยนาผลกระทบจากการเปล่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ทบ่งช้วาโรคไข้เลือดออกมักระบาดชวงฤดูฝนมากาหนดแผนการรบมอการเปลยนแปลงและปรับเพม
ความถี่การดำเนินการป้องกันโรคก่อนฤดูฝน ซึ่งข้อมูลดังกล่าวเป็นประโยชน์สำหรับใช้การวางแผน
การเฝ้าระวังและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพ้นท่บางพลัด และพ้นท่ต่าง ๆ ในเขต
กรุงเทพมหานคร

Article Details

บท
นิพนธ์ต้นฉบับ (Original Articles)

References

1. World Health Organization. (2002). The World Health Report 2002. Geneva, Switzerland, World Health Organization.
2. BeugnetF,Chalvet-Monfray K.(2013) Impact of climate change in the epidemiology of vector-borne diseases in domestic carnivores. Comparative immunology, microbiology and infectious diseases,pp.559-66.
3. Juljila Hinjampa. (2017) Epidemiological changes of dengue fever in Bangkok.
4. Bureau of Communicable Diseases by Insects. (2018). Guidelines for Dengue Fever Disease. (2) Bangkok Bureau of Health
5. World Health Organization. (2003). The World Health Report 2003. Geneva, Switzerland, World Health Organization.
6. Strategic Management Division of Thailand. (2018). Logistics System Development in Thailand (2) Logistics Strategy Development Division Office of the National Economic and Social Development Council
7. Semenza, J. C., Sudre, B., Miniota, J., Rossi, M., Hu, W., Kossowsky, D., et al. (2014). International Dispersal of Dengue Through Air Travel: Importation Risk for Europe. PLOS Neglected Tropical Diseases,8(12), e3278.
8. Uma Langkulsen, Kamol Promsakha Na Sakolnakhon & Nigel James (2020) Climate Change and Risk of Dengue Fever in Central Thailand, Journal of International Health Research, 30(3), 327-335
9. Phornphan Sornchuer. (2017). Climate change and infectious diseases. Thammasat Medical Journal, 17 (3), 440-447. (In Thai)
10. Usawadi Thawara. 2010. Biology, ecology and mosquito control In Thailand. Institute of Health Sciences Mosquito Research Department of Medical Sciences Ministry of Public Health,35-36. (in Thai)