ผลของโปรแกรมนวดกระตุ้นน้ำนมด้วยตนเองต่อพฤติกรรมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในมารดาหลังคลอดบุตรที่มีภาวะลิ้นติด โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี

Main Article Content

วันวิสา แสนลา
เมรีรัตน์ มั่นวงศ์
ปัณฑิตา สุขุมาลย์

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ


การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมนวดกระตุ้นน้ำนมด้วยตนเองของมารดาหลังผ่าตัดคลอดบุตรทางหน้าท้องที่เลี้ยงลูกด้วยด้วยนมแม่อย่างเดียว ในเด็กที่มีภาวะลิ้นติด โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี กลุ่มตัวอย่างมีจำนวนทั้งสิ้น 70 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 35 คน การสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือโปรแกรมนวดกระตุ้นน้ำนมด้วยตนเอง มีค่า CVI 0.80 แบบประเมินคะแนนการเข้าเต้าในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ (latch score) มีค่าความเชื่อมั่น  0.84 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ Independent t-test และ Proportion test กำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05


ผลการวิจัย พบว่ามารดาที่ได้รับโปรแกรมฯ มีคะแนนการเข้าเต้าฯ และสัดส่วนการกินนมแม่ก่อนกลับบ้านมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< 0.05) โดยมีคะแนนการเข้าเต้าฯ มากกว่ากลุ่มควบคุม 1.03 คะแนน (95%CI: 0.39 , 1.67) สัดส่วนการกินนมแม่ก่อนกลับบ้าน มากกว่า กลุ่มควบคุมร้อยละ 66 (95%CI : 0.48 ,0.83)


ดังนั้นโรงพยาบาลและกลุ่มงานสูตินรีเวชควรมีการนำโปรแกรมนี้ไปใช้ในมารดาที่ผ่าตัดคลอด และบุตรมีภาวะลิ้น เพื่อช่วยให้มารดามีน้ำนมเพียงพอ ทารกสามารถดูดนมแม่ได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น และมารดาสามารถเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาได้อย่างมั่นใจ

Article Details

บท
นิพนธ์ต้นฉบับ (Original Articles)

References

เสาวลักษณ์ ค้า ของ, มยุรี นิ รัต ธรา ดร. ผล ของ โปรแกรม ส่งเสริม การ รับ รู้ สมรรถนะ แห่ง ตน ต่อ พฤติกรรม การ เลี้ยง ลูก ด้วย นม แม่ ของ มารดา วัยรุ่น ใน ชุมชน. Thai Journal of Public Health, 2560;47(1), 31-43.

มงคล เลาหเพ็ญแสง. พังผืดใต้ลิ้นปัญหาของ เจ้าตัวเล็ก [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 18 พฤษภาคม 2563]; เข้าถึงได้จาก: https:// www.si.mahidol.ac.th/Th/healthdetail. asp? Aid=1039

มูลนิธิ ศูนย์ นม แม่ แห่ง ประเทศไทย. การ ประชุม วิชาการ นม แม่ แห่ง ชาติ ครั้ง ที่ 4:2564. เอกสาร ประกอบ การ ประชุม.

กาญจนา คงเงิน. "ประสิทธิผล ของ โปรแกรมส่งเสริมพฤติกรรมการ ให้นมบุตรของ มารดาที่วางแผน ผ่าตัดคลอดบุตร Journal of Health, Physical Education and Recreation,2563; 46(2): 15-23.

ภาวิน พัวพรพงศ์, เกษม เรืองรองมรกต, สุทธา หะมนตรี, สุวดี เกสุวรรณ, สิณัฐชนันท์ วงศ์อินทร์. คะแนนการเข้าเต้ากับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 6 เดือน. วารสารการแพทย์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ (Journal of Medicine and Health Science),2559; 23(1), 8-14.

References

ภาวิน พัวพรพงษ์ . ภาวะลิ้นติดกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่. วารสารการแพทย์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ (Journal of Medicine and Health Science),2556; 20(3), 10-15

แสงรุ้ง รักอยู่,อรพรรณ ลือบุญธวัชชัย และรุ้งรวี นาวีเจริญ .ผลของโปรแกรมการสอนแนะต่อความสามารถของผู้ดูแลในการดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังที่ได้รับการคาสายสวนปัสสาวะ.Thai Journal of Cardio-Thoracic Nursing,2558; 26(1): 44-56.

เบญจวรรณ ละหุกาล. ผล ของ โปรแกรมการ นวด เต้านมด้วยตนเองต่อการไหลของน้ำนมในมารดาผ่าตัดคลอด. Journal of Social Science and Buddhistic Anthropology,2565; 6(8), 100-111.

ศิริพรรณ จำปาเงิน. พัฒนากระบวนการดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะลิ้นติดโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ ที่ 17 จังหวัด สุพรรณบุรี. Journal of Health Science-วารสาร วิชาการ สาธารณสุข,2550; 237-245.

จริยา โล่สวัสดิ์กุล. "ลิ้นติดในมุมมองของหมอฟัน." วารสาร แพทย์ เขต 4-5 39(2): 290-290.2563

ชนิกานต์ ทิพากรโรจนกิจ.ภาวะลิ้นนติดในทารก แรกเกิดในโรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ [อินเทอร์เนต]. [เข้าถึงเมื่อ20 พ.ค.2563 ]; เข้าถึงได้จาก: http://203.155.220.238/csc/ attachments/article/159/doctor580702.pdf

ทัศนีย์ รวีภควัต .ผลของการผ่าตัดพังผืดใต้ลิ้นในทารกลิ้นติดที่มีปัญหาการดูดนมมารดาโดยติดตามผลการรักษา 6 เดือน ของศูนย์อนามัยที่ 1. Thammasat Medical Journal,2556; 13(2), 169-180.

ลาวัลย์ ใบมณฑา,และ มยุรี นิรัตธรา ดร. ผล ของ โปรแกรม การ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ต่อความสามารถในการให้นมและการไหลของน้ำนม ในมารดาที่ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง. Nursing Journal,2558; 42(4), 65-75.

กฤษณา ปิงวงศ์, และ กรรณิการ์ กันธะรักษา. การนวดเต้านมเพื่อส่งเสริมการสร้าง และการหลั่งน้ำนม. Nursing Journal,2560; 44(4), 169-176.

ขนิษฐา เมฆกมล. การส่งเสริมการ เลี้ยง ลูกด้วยนมแม่: แนว ปฏิบัติ ใน ชุมชน. The Southern College Network Journal of Nursing and Public Health,2561; 5(3), 274-286.

มยุรา เรืองเสรี และวราทิพย์ แก่นการ. การ ศึกษา ปัจจัยทำนายระยะเวลาการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวในมารดาวัยรุ่นที่มารับบริการที่โรง พยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในจังหวัดอุบลราชธานี. Journal of Nursing and Health Care,2562; 37(1), 195-204.

ศศิธารา นวลปะ., พรนภา ตั้งสุขสันต์., วาสนา จิติมา., และกัญญารักษ์ งุ้ยเจริญ. การนวดเต้านมเพื่อส่งเสริมและแก้ไขปัญหาการเลี้ยงลูกด้วยนม แม่: การปฏิบัติพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษ์. Nursing Science Journal of Thailand,2560; 38(3), 4-21.

References

สุดาภรณ์ พยัคฆเรือง, พรรณรัตน์ แสง เพิ่ม, และ ชญาดา สามารถ.ปัญหาการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะแรกหลังคลอด: ประสบการณ์ของ มารดา. Nursing Science Journal of Thailand,2555; 34(3), 30-40.

มารียา มะแซ. ผลของโปรแกรมการนวดเต้านมด้วยตนเองต่อการไหลของน้ำนมในมารดาครรภ์แรก. PhD Thesis, มหาวิทยาลัย สงขลา นครินทร์,2562

Callahan CO, Macary S, Clemente S. The effects of office-based frenotomy for anterior and posterior ankyloglossia on breastfeeding. International Journal of Pediatric Otorhinolaryngology.2013; 77(5): 827–32

Emond, Alan and et al. Randomized controlled trial of early frenotomy in breastfed infants with mild–moderate tongue-tie. Archives of Disease in Childhood-Fetal and Neonatal Edition,2014; 99(3), F189-F195.

Kato Ikuko and et al. The Trajectory of Expressed Colostrum Volume in the First 48 Hours Postpartum: An Observational Study. Breastfeeding Medicine,2022; 17(1), 52-58.

Shahri and et al. "The Effect Of Oketani Breast Massage On Successful Breastfeeding, Mothers’ Breastfeeding Support Need, And Breastfeeding Self-Efficacy: A Clinical Trial Study."2020.

เสาวลักษณ์ ค้า ของ, มยุรี นิ รัต ธรา ดร. ผล ของ โปรแกรม ส่งเสริม การ รับ รู้ สมรรถนะ แห่ง ตน ต่อ พฤติกรรม การ เลี้ยง ลูก ด้วย นม แม่ ของ มารดา วัยรุ่น ใน ชุมชน. Thai Journal of Public Health, 2560;47(1), 31-43.

มงคล เลาหเพ็ญแสง. พังผืดใต้ลิ้นปัญหาของ เจ้าตัวเล็ก [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 18 พฤษภาคม 2563]; เข้าถึงได้จาก: https:// www.si.mahidol.ac.th/Th/healthdetail. asp? Aid=1039

มูลนิธิ ศูนย์ นม แม่ แห่ง ประเทศไทย. การ ประชุม วิชาการ นม แม่ แห่ง ชาติ ครั้ง ที่ 4:2564. เอกสาร ประกอบ การ ประชุม.

กาญจนา คงเงิน. "ประสิทธิผล ของ โปรแกรมส่งเสริมพฤติกรรมการ ให้นมบุตรของ มารดาที่วางแผน ผ่าตัดคลอดบุตร Journal of Health, Physical Education and Recreation,2563; 46(2): 15-23.

ภาวิน พัวพรพงศ์, เกษม เรืองรองมรกต, สุทธา หะมนตรี, สุวดี เกสุวรรณ, สิณัฐชนันท์ วงศ์อินทร์. คะแนนการเข้าเต้ากับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 6 เดือน. วารสารการแพทย์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ (Journal of Medicine and Health Science),2559; 23(1), 8-14.

References

ภาวิน พัวพรพงษ์ . ภาวะลิ้นติดกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่. วารสารการแพทย์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ (Journal of Medicine and Health Science),2556; 20(3), 10-15

แสงรุ้ง รักอยู่,อรพรรณ ลือบุญธวัชชัย และรุ้งรวี นาวีเจริญ .ผลของโปรแกรมการสอนแนะต่อความสามารถของผู้ดูแลในการดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังที่ได้รับการคาสายสวนปัสสาวะ.Thai Journal of Cardio-Thoracic Nursing,2558; 26(1): 44-56.

เบญจวรรณ ละหุกาล. ผล ของ โปรแกรมการ นวด เต้านมด้วยตนเองต่อการไหลของน้ำนมในมารดาผ่าตัดคลอด. Journal of Social Science and Buddhistic Anthropology,2565; 6(8), 100-111.

ศิริพรรณ จำปาเงิน. พัฒนากระบวนการดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะลิ้นติดโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ ที่ 17 จังหวัด สุพรรณบุรี. Journal of Health Science-วารสาร วิชาการ สาธารณสุข,2550; 237-245.

จริยา โล่สวัสดิ์กุล. "ลิ้นติดในมุมมองของหมอฟัน." วารสาร แพทย์ เขต 4-5 39(2): 290-290.2563

ชนิกานต์ ทิพากรโรจนกิจ.ภาวะลิ้นนติดในทารก แรกเกิดในโรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ [อินเทอร์เนต]. [เข้าถึงเมื่อ20 พ.ค.2563 ]; เข้าถึงได้จาก: http://203.155.220.238/csc/ attachments/article/159/doctor580702.pdf

ทัศนีย์ รวีภควัต .ผลของการผ่าตัดพังผืดใต้ลิ้นในทารกลิ้นติดที่มีปัญหาการดูดนมมารดาโดยติดตามผลการรักษา 6 เดือน ของศูนย์อนามัยที่ 1. Thammasat Medical Journal,2556; 13(2), 169-180.

ลาวัลย์ ใบมณฑา,และ มยุรี นิรัตธรา ดร. ผล ของ โปรแกรม การ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ต่อความสามารถในการให้นมและการไหลของน้ำนม ในมารดาที่ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง. Nursing Journal,2558; 42(4), 65-75.

กฤษณา ปิงวงศ์, และ กรรณิการ์ กันธะรักษา. การนวดเต้านมเพื่อส่งเสริมการสร้าง และการหลั่งน้ำนม. Nursing Journal,2560; 44(4), 169-176.

ขนิษฐา เมฆกมล. การส่งเสริมการ เลี้ยง ลูกด้วยนมแม่: แนว ปฏิบัติ ใน ชุมชน. The Southern College Network Journal of Nursing and Public Health,2561; 5(3), 274-286.

มยุรา เรืองเสรี และวราทิพย์ แก่นการ. การ ศึกษา ปัจจัยทำนายระยะเวลาการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวในมารดาวัยรุ่นที่มารับบริการที่โรง พยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในจังหวัดอุบลราชธานี. Journal of Nursing and Health Care,2562; 37(1), 195-204.

ศศิธารา นวลปะ., พรนภา ตั้งสุขสันต์., วาสนา จิติมา., และกัญญารักษ์ งุ้ยเจริญ. การนวดเต้านมเพื่อส่งเสริมและแก้ไขปัญหาการเลี้ยงลูกด้วยนม แม่: การปฏิบัติพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษ์. Nursing Science Journal of Thailand,2560; 38(3), 4-21.

References

สุดาภรณ์ พยัคฆเรือง, พรรณรัตน์ แสง เพิ่ม, และ ชญาดา สามารถ.ปัญหาการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะแรกหลังคลอด: ประสบการณ์ของ มารดา. Nursing Science Journal of Thailand,2555; 34(3), 30-40.

มารียา มะแซ. ผลของโปรแกรมการนวดเต้านมด้วยตนเองต่อการไหลของน้ำนมในมารดาครรภ์แรก. PhD Thesis, มหาวิทยาลัย สงขลา นครินทร์,2562

Callahan CO, Macary S, Clemente S. The effects of office-based frenotomy for anterior and posterior ankyloglossia on breastfeeding. International Journal of Pediatric Otorhinolaryngology.2013; 77(5): 827–32

Emond, Alan and et al. Randomized controlled trial of early frenotomy in breastfed infants with mild–moderate tongue-tie. Archives of Disease in Childhood-Fetal and Neonatal Edition,2014; 99(3), F189-F195.

Kato Ikuko and et al. The Trajectory of Expressed Colostrum Volume in the First 48 Hours Postpartum: An Observational Study. Breastfeeding Medicine,2022; 17(1), 52-58.

Shahri and et al. "The Effect Of Oketani Breast Massage On Successful Breastfeeding, Mothers’ Breastfeeding Support Need, And Breastfeeding Self-Efficacy: A Clinical Trial Study."2020.