การควบคุมระดับน้ำตาลของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ด้วยการจัดการตนเองและครอบครัว
Main Article Content
บทคัดย่อ
โรคเบาหวานเป็นโรคที่มีความสำคัญมากและพบบ่อยอยู่ในกลุ่มโรคไม่ติดต่อและเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศและของโลก โรคเบาหวานทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพทั้งชนิดเฉียบพลันและชนิดเรื้อรัง ภาวะแทรกซ้อนดังกล่าวอาจเกิดผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตของตัวผู้ป่วย รวมทั้งส่งผลกระทบต่อครอบครัวในการปฏิบัติหน้าที่ที่ต้องมีการปรับเปลี่ยนจากการที่ต้องดูแลผู้ป่วยเบาหวาน จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้ป่วยโรคเบาหวานจะต้องควบคุมระดับน้ำตาลให้อยู่ในเกณฑ์ปกติหรือใกล้เคียงปกติ การควบคุมโรคเบาหวานต้องอาศัยการจัดการตนเองในการควบคุมอาหาร การออกกำลังกาย การรับประทานยาและการจัดการความเครียดเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดำรงชีวิตให้ดีขึ้นอันเป็นการรักษาหลักของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ทั้งนี้จะอาศัยเพียงการจัดการตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวานเพียงอย่างเดียวไม่เพียงพอต้องอาศัยการจัดการของครอบครัวเข้ามามีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ป่วยโรคเบาหวานด้วยเพราะการที่ครอบครัวได้มีส่วนร่วมในกระบวนการจัดการตนเองร่วมกับผู้ป่วยโรคเบาหวานทำให้ครอบครัวมีความรู้ ความเข้าใจโรคและผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถทำหน้าที่ของครอบครัว ให้การสนับสนุนผู้ป่วยโรคเบาวหวาน ประเมินและให้การดูแลเมื่อเกิดภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลันจากโรคเบาหวานได้อันเป็นส่วนสำคัญอย่างมากที่ทำให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานเกิดความมั่นใจในการจัดการตนเองเพื่อปรับเปลี่ยนพติกรรมของตนเองในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข. การป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ. [อินเตอร์เน็ต]. เข้าถึงได้จาก : https://hdcservice.moph.go.th/hdc/reports/. (วันที่ค้นข้อมูล: 11 ธันวาคม 2566).
สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข. รายงานตามตัวชี้วัดNCD ClinicPlus. [อินเตอร์เน็ต]. เข้าถึงได้จาก : https://hdcservice.moph.go.th/hdc/reports/. (วันที่ค้นข้อมูล : 11 ธันวาคม 2566).
ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์, สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, สมาคมต่อมไร้ท่อแห่งประเทศไทย, กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข และสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2566 (Clinical Practice Guideline for Diabetes 2023). กรุงเทพมหานคร: บริษัท ศรีเมืองการพิมพ์ จำกัด; 2566.
สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. สรุปรายงานการเฝ้าระวังโรค ประจำปี 2560. [อินเตอร์เน็ต]. เข้าถึงได้จาก : https://apps.boe.moph.go.th/boeeng/download/AESR-6112-24.pdf. (วันที่ค้นข้อมูล : 7 สิงหาคม 2562).
จินตนา วัชรสินธุ์. การพยาบาลครอบครัวที่มีสมาชิกเจ็บป่วยโรคเรื้อรัง. ชลบุรี: ชลบุรีการพิมพ์; 2560.
จำเนียร พรประยุทธ, ชนัญชิดาดุษฎี ทูลศิริ และสมสมัย รัตนกรีฑากุล. ผลของโปรแกรมการชี้แนะต่อพฤติกรรมการควบคุมโรคเบาหวานและค่าเฉลี่ยน้ำตาลสะสมในผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560; 25(4): 60-69.
ลักษณา พงษ์ภุมมา และศุภรา หิมานันโต. ความรู้และพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ตำบลบางทราย อำเภอเมือง จัวหวัดชลบุรี. วารสาร มฉก.วิชาการ, 2560; 20(40): 67-76.
เพียวพันธุ์ อุสาย, นิรมล เมืองโสม และประยูร โกวิทย์. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ขึ้นทะเบียนรักษาในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น. วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2555; 5(3): 11-20.
American Diabetes Association (ADA). Classification and Diagnosis of Diabetes: Standards of Medical Care in Diabetes - 2023. Diabetes Care, 2023; 46(suppl.1): S68-S86.
นงนุช โอบะ, สุภาพร แนวบุตร และปรทุมา ฤทธิ์โพธิ์. ประสบการณ์การจัดการตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2565; 30(4): 64-77.
ชดช้อย วัฒนะ. การสนับสนุนการจัดการตนเอง: กลยุทธในการส่งเสริมการควบคุมโรค Self-management Support: Strategies for Promoting Disease Control. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทรบุรี. 2558; 26(1): 117-127.
Ryan P, Sawin KJ. The individual and family Salf-management theory: background and perspective on context. NIH Public Access Author Manuscript 2009, 2009; 57(4): 217-225.
Kanfer, F. & Goldstein, A. Helping people change. (2nded). New York: Pergamon; 1980.
Creer, L. T. Self-management of chronic illness. In Boekaerts, M., Printrich, P. R., & Zeidner, M. (Eds.). Handbook of self-regulation. San Diego, CA: Academic Press; 2000.
Lorig, K. & Holman, H. Self-management education: History, definition, outcome and mechanisms. Annals of Behavioral Medicine, 2003; 26(1): 1–7.
Cormier, S., Nurius, Paula S. & Osborn, Cynthia J. Interviewing and change strategies for helpers: Fundamental skills and cognitive behavioral intervention. (6thed). Albany: International Thomson Publishing; 2008.
ดารุณี จงอุดมการณ์. การพยาบาลสุขภาพครอบครัว: แนวคิดทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ในครอบครัวระยะวิกฤต Family Health Nursing: Theory and Application for families with crisis situations(พิมพ์ครั้งที่ 3). ขอนแก่น: โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา; 2561.
สุริยา ฟองเกิด และศุภรา หิมนันโต. ตำราการพยาบาลครอบครัว. ชลบุรี: วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชลบุรี; 2559.
Clark, M. J. Community Health Nursing: Advocacy for Population Health. 5thed. New York: Prentice Hall; 2008.
Friedman, M.M., Bowen, V.R., & Jones, E.G. Family Nursing: Theory and Practice 5thed. New Jersey: Upper Saddle River; 2003.
Grey, M., Knafl, K. & McCorkle, R. A framework for the study of self-and family management of chronic conditions. Nursing Outlook, 2006; 54(5): 278-286.
ราม รังสินธุ์, ปิยทัสน์ ทัศนาวิวัฒน์ และคณะทำงานเจ้าหน้าที่เครือข่ายวิจัยกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย. การเก็บรวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขและโรงพยาบาลในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ประจำปี 2561. โครงการประเมินผลการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความดันโลหิตสูง. เข้าถึงได้จาก : http://dmht.thaimedresnet.org/document/1_รายงานฉบับสมบูรณ์.pdf. (วันที่ค้นข้อมูล 24 มกราคม 2564).
กุสุมา กังหลี. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า. วารสารพยาบาลทหารบก, 2557; 15(3): 256-268.
ปัทมา สุพรรณกุล, สุทธิชัย ศิรินวล, เจษฎากร โนอินทร, มาลา ชโยดม และอรพินท์ สิงหเดช. ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 จังหวัดสุโขทัย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับวิทยาศาสาสตร์และเทคโนโลยี, 2560; 11( 1): 211-223.
พณิตา เซี่ยงจ๊ง, ธนัช กนกเทศ และปัทมา สุพรรณกุล. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์. วารสารพยาบาลและสุขภาพ, 2557; 6(3): 30-38.
อภิญญา บ้านกลาง, อุดมลักษณ์ ดวงผุนมาตย์ และปริศนา รถสีดา. ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลศิลา อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น. สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดขอนแก่น, 2559; 23(1): 85-95.
กมลพร สิริคุตจตุพร, วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์ และนารีรัตน์ จิตรมนตรี. ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2. วารสารสภาการพยาบาล, 2560; 32(1): 81-93.
อภิชัย คุณีพงษ์. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในอำเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี. วารสารกรมการแพทย์, 2561; 43(3): 101-107.
ดวงหทัย แสงสว่าง, อโนทัย ผลิตนนท์เกียรติ และนิลาวรรณ งามขำ. ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการลดระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางปูใหม่ จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 2561; 8(1): 103-117.
สุพาพร เพ็ชรอาวุธ, นันทิยา วัฒายุ และนันทวัน สุวรรณรูป. ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการจัดการโรคเบาหวานด้วยตนเองของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2. วารสารพยาบาลศาสตร์, 2554; 29(4): 18-26.
อายุพร กัยวิกัยโกศล, อัศนี วันชัย, อัญชลี แก้วสระศรี และอนัญญา คูอาริยะกุล. การจัดการความเครียดของผู้ป่วยเบาหวานไทย: การสังเคราะห์งานวิจัยอย่างเป็นระบบ. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุตรดิตถ์, 2561; 10(2): 1-16.
ทรรศนีย์ สิริวัฒนพรกุล, นงนุช โอบะ, และสุชาดา อินทรกำแหง ณ ราชสีมา. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับน้ำตาลในเลือดของ ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่2. วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศว, 2550; 1(2): 57-67.
ธีรนันท์ วรรณศิริ. สัมพันธภาพในครอบครัวในการส่งเสริมการดูแลตนเองเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมน้ำตาลไม่ได้. วารสารเกื้อการุณย์, 2559; 23(2): 31-50.
นภารัตน์ ธัญถิรโสภนากุล, จินตนา วัชรสินธุ์ และวรรณี เดียวอิศเรศ. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจัดการของครอบครัวที่มีสมาชิกครอบครัวเป็นเบาหวานชนิดที่ 2, วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2554; 19(ฉบับเพิ่มเติม1): 35-49.
กมลพรรณ วัฒนากร และอาภรณ์ ดีนาน. การพัฒนาโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีภาวะอ้วน. วารสารพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, 2556; 27(2): 143-156.
เครือฟ้า ศรีรังษ์. การรับรู้ด้านการควบคุมอาหารที่มีผลต่อการปฏิบัติตัวของผู้ป่วยโรคเบาหวานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโนนสวรรค์ จังหวัดขอนแก่น. วารสารวิทยาลัยนครราชสีมา, 2556; 7(2): 3-8.
จักรกฤษณ์ วังราษฎร์, สุวินัย แสงโย และกัญญาณัฐ อุ่นมี. อุปสรรคในการดำเนินพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่ส่งผลต่อการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวาน. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต, 2561; 6(2): 351-361.
Vijan, S., N. S. Stuart, J. T. Fitzgerald, D. L. Ronis, R. A. Hayward, S. Slater and T. P. Hofer. Barriers to following dietary recommendations in Type 2 diabetes. Diabetic Medicine, 2005; 22(1): 32-38.
Dutton, G. R., J. Johnson, D. Whitehead, J. S. Bodenlos and P. J. Brantley. Barriers to physical activity among predominantly low-income African American patients with type 2 diabetes. Diabetes Car, 2005; 28(5): 1209-1210.
Lawton, J., N. Ahmad, L. Hanna, M. Douglas and N. Hallowell. ‘I can't do any seriousexercise’: barriers to physical activity amongst people of Pakistani and Indian origin with Type 2 diabetes. Health Education Research, 2005; 21(1): 43-54.
จูณี คงทรัพย์และ นงลักษณ์ เมธากาญจนศักดิ์. การจัดการตนเองด้านการออกกำลังกายใน ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 2555; 30(2): 57-64.
ประทุม สุภชัยพานิชพงศ์, ภรณี วัฒนสมบูรณ์, สุปรียา ตันสกุล และพิศาล ชุ่มชื่น. ความรู้ และความเชื่อเกี่ยวกับการใช้ยาของผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่รับประทานยาตามคำแนะนำอย่างต่อเนื่อง. Veridian E-Journal Science and Technology Slipakorn University, 2557; 1(1): 1-12.
Doggrell, S. A. and S. Warot. The association between the measurement of adherence to anti-diabetes medicine and the HbA1c. International Journal of Clinical Pharmacy, 2014; 36(3): 488-497.
Aikens, J.E. and J.D. Piette. Longitudinal association between medication adherence and glycemic control in Type 2 diabetes. Diabetic Medicine, 2013; 30(3): 338-344.
กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการความเครียดสำหรับวัยทำงาน. เข้าถึงได้จาก : http://www.hed.go.th/. (วันที่ค้นข้อมูล : 7 สิงหาคม 2562).
Wen, L. K., M. L. Parchman & M. D. Shepherd. Family support and diet barriers among older Hispanic adults with type 2 diabetes. Clinical Research and Methods, 2004; 36(6): 423-430.
Rosland, A.-M., M. Heisler, H.-J. Choi, M. J. Silveira and J. D. Piette. Family influences on self-management among functionally independent adults with diabetes or heart failure: do family members hinder as much as they help?. Chronic Illness, 2010; 6(1): 22-33.
Mayberry, L. S. and C. Y. Osborn. Family support, medication adherence, and glycemic control among adults with type 2 diabetes. Diabetes Care, 2012; 35(6): 1239-1245.
ทรงกรฎ ศฤงคาร, มยุรี นิรัตธราดร และปรีย์กมล รัชนกุล. ผลของโปรแกรมส่งเสริมการจัดการตนเองและครอบครัวต่อพฤติกรรมการควบคุมระดับน้ำตาลและระดับน้ำตาลสะสมในเลือดของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2. วารสารวิจัยสุขภาพและการพยาบาล, 2565; 38(1): 86-96.
ญณัช บัวศรี. ผลของโปรแกรมการจดัการตนเองและครอบครัวต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารและระดับน้ําตาลในเลือดของผู้เป็นโรคเบาหวานชนิดที่2(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). สาขาวิชากาพยาบาลเวชปฏิบัติครอบครัว, คณะพยาบาลศาสตร์ : ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา; 2561.
แสงอรุณ สุรวงค์ และทัศนา ชูวรรธนะปกรณ์. ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองของบุคคลและครอบครัวต่อระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2. วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560; 29(1): 104-116.
ณัฐธยาน์ วิสารพันธ์, จิตร มงคลมะไฟ, นิบพร แสนโท และวราทิพย์ แก่นการ. ประสิทธิผลของการจัดการตนเองและครอบครัวของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในศูนย์สุขภาพชุมชน จังหวัดยโยธร. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 2563; 38(4): 102-111.