ความสำคัญของเครือข่ายเกื้อหนุนผู้สูงอายุในชุมชน

Main Article Content

Paiboon Pongsaengpan
Anattacha Pinkaew

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อชี้ให้เห็นความสำคัญของเครือข่ายเกื้อหนุนผู้สูงอายุ ที่มีบทบาทในการดูแลหรือส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในสังคมไทย ทั้งนี้เพราะสังคมไทยก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุจึงส่งผลต่อโครงสร้างประชากรโดยภาพรวม เมื่อสัดส่วนผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้นจึงก่อให้เกิดปัญหาในหลาย ๆ ด้านต่อผู้สูงอายุ เช่น การถูกทอดทิ้งและมีความต้องการสวัสดิการและการดูแลมากขึ้น ปัญหาด้านสุขภาพ และปัญหาเศรษฐกิจและการไร้ที่พักพิง การสร้างเครือข่ายเกื้อหนุนผู้สูงอายุในชุมชนจึงมีส่วนช่วยให้ผู้สูงอายุได้รับความช่วยเหลือ เป็นช่องทางในการสร้างสัมพันธภาพในสังคม ผู้สูงอายุจะได้รับบริการข้อมูลข่าวสาร และเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในรูปแบบของการรวมกลุ่มกันจากความร่วมมือของครอบครัว ญาติ เพื่อน/เพื่อนบ้าน ชุมชนและนักวิชาชีพทางสุขภาพเพื่อคุณภาพชีวิตที่ของผู้สูงอายุในชุมชน


 


Social Support and Networks for the Elderly in Community


This article aims to point out the importance of understanding network, advocating for the elderly related role in health care of the elderly in Thailand. There for Thai society is entering the aging society, as a result, the proportion of the elderly population to increase. The elderly have been neglected and needs more care, welfare and thereby suffer health problems, low income and poor housing. Supporting a networks in community in which empowering the elderly people to be included as worthwhile members of that community. Therefore, building relationships in society and encourage them to get information and better services, and change opinions on health care in the form of a confederation of the family , relatives, friends / neighbors and health professionals in communities.


 

Article Details

บท
บทความพิเศษ (Special Articles)

References

1. วิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.). รายงานประจำปี สถานการณ์ผู้สูงอายุไทยพ.ศ. 2554. [ออนไลน์][เข้าถึงวันที่ 10 พฤศจิกายน 2556]. เข้าถึงจากhttp://www.thaitgri.org/images/document/ElderSituations/situationofthailandelderThai2554.pdf.
2. กลุ่มอนามัยผู้สูงอายุ สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. โครงการพัฒนาระบบบริการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน. [ออนไลน์][เข้าถึงวันที่ 7 พฤศจิกายน 2556.]. เข้าถึงจากhttp://hp.anamai.moph.go.th/soongwai/hhc/statics/hhc7/hhc711.php.
3. สวัสดิการสังคม. สวัสดิการคนสูงอายุ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2555.
4. สำนักมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. กระบวนการสร้างเครือข่ายงานพัฒนาสังคมและสวัสดิการสังคมในชุมชน. กรุงเทพมหานคร: สำนักมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์, 2549.
5. จงจิตต์ โศภนศณาภรณ์. สวัสดิการสังคม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2555.
6. ชินสัคค สุวรรณอัจฉริย. เครือข่ายทางสังคม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2549.
7. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ และคณะ. รายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2551. มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส). กรุงเทพฯ: ทีคิวพี, 2552.
8. อนันต์ ดิสระ. การศึกษาแนวทางการจัดสวัสดิการสังคมแก่ผู้สูงอายุโดยศูนย์เครือข่ายสุขภาพผู้สูงอายุจังหวัดสงขลา ปี พ.ศ.2547. วารสารรูสมิแล 2548; 26(2): 24-27.
9. ธนัช กนกเทศ. ความมั่นคงทางสุขภาพของผู้สูงอายุ: องค์ความรู้ที่สำคัญต่อการปฏิบัติงานสุขภาพระดับปฐมภูมิ. วารสารสาธารณสุขศาสตร์ 2553; 40(2): 237-246.
10. ศศิพัฒน์ ยอดเพชร และคณะอ้างถึงในลักขณา ลี้ประเสริฐ. แรงสนับสนุนทางสังคมที่มีผู้สูงอายุได้รับ ในชุมชนบ้านนาแก ตำบลห้วยอ้อ อำเภอลอง จังหวัดแพร่. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2549.
11. สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. บทบาทผู้สูงอายุต่อสังคม ครอบครัว ชุมชน. [ออนไลน์][เข้าถึงวันที่26 พฤศจิกายน 2556].เข้าถึงจากhttp://hp.anamai.moph.go.th/soongwai/statics/about/soongwai/topic006.php.
12. ชุติเดช เจียนดอนและคณะ. คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในชนบทอำเภอวังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา. วารสารสาธารณสุข. 2554; 41 (3): 229-239.
13. ศูนย์การเฝ้าระวังและเตือนภัยทางสังคม. ความรู้เกี่ยวกับครอบครัว. [ออนไลน์][เข้าถึงวันที่ 26 พฤศจิกายน 2556]. เข้าถึงจาก http://www.socialwarning.m-society.go.th/risk/5.html.
14. เล็ก สมบัติ. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการภาวะการดูแลผู้สูงอายุของครอบครัวในปัจจุบัน. กรุงเทพ; มิสเตอร์ก๊อปปี้, 2549.
15. มณฑิรา อินทะพัฒน์. การศึกษาทุนทางสังคม เพื่อการพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาผู้สูงอายุในชุมชนเขตเมือง เขตชุมชน และเขตชนเผ่า จ.เชียงใหม่.วารสารสุขภาพภาคประชาชน ภาคเหนือ.2554; 23(2):36-40.
16. คณะอนุกรรมการจัดทำข้อมูลสถานการณ์ผู้สูงอายุ. สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2547, 2547.
17. มณฑา ไชยะวัฒน และคณะ. รูปแบบการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุ. กรมอนามัย ส่งเสริมให้คนไทย สุขภาพดี, 2556.
18. สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. เครือข่ายองค์กรวิชาชีพ. [ออนไลน์][เข้าถึงวันที่ 26 พฤศจิกายน 2556]. เข้าถึงจาก http://www.nhso.go.th/FrontEnd/page-network_history.aspx.
19. วันชัย ชูประดิษฐ์. การศึกษาความต้องการสวัสดิการสังคมของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลตำบลลำทับ อำเภอลำทับ จังหวัดกระบี่. [ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์] กระบี่: บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์: 2555.
20. พงษ์ศิริ ปรารถนาดี. การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย. [ออนไลน์][เข้าถึงวันที่ 26 พฤศจิกายน 2556]. เข้าถึงจาก http://203.157.64.34/ewtadmin/ewt/hp/download/ederly/PPT.