สุขภาพทางเพศ: แนวทางการส่งเสริมสุขภาพทางเพศในพนักงานบริการหญิง

Main Article Content

Saowanee Thongnopakun

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงแนวทางการส่งเสริมสุขภาพทางเพศของพนักงานบริการหญิง เนื่องจากเป็นผู้ที่มีความเสี่ยงจากการมีคู่นอนหลายคน อีกทั้งยังเป็นอาชีพที่มีความขัดแย้งกับสังคมวัฒนธรรมไทย จึงทำให้การส่งเสริม ป้องกัน และการดูแลสุขภาพทางเพศทำได้ไม่เต็มที่นัก จากการศึกษาโดยใช้แบบจำลอง PRECEDE-PROCEED พบว่า ปัจจัยนำ ปัจจัยเอื้อและปัจจัยเสริมมีความสำคัญและมีความจำเป็นต่อการสร้างความรู้ ค่านิยม ความเชื่อ ทักษะ การเสริมแรงจากบุคคลรอบข้างรวมทั้งสื่อต่าง ๆ รวมไปถึงการเข้าถึงทรัพยากรที่จำเป็นสำหรับสุขภาพทางเพศ สำหรับแนวทางในการส่งเสริมสุขภาพทางเพศในพนักงานบริการหญิงจึงควรเน้นการพัฒนาทักษะส่วนบุคคลให้มีความรู้เท่าทันด้านสุขภาพ (Health Literacy) และควรปรับระบบบริการสาธารณสุขให้เป็นเชิงรุก โดยเพิ่มความร่วมมืออย่างต่อเนื่องและอย่างจริงจังจากทุกภาคส่วน เพื่อนำไปสู่สุขภาพทางเพศที่ดีของพนักงานบริการหญิงต่อไป


 


Sexual Health: Guidelines for Health Promotion among Female Sex workers


This article aimed to synthesize guidelines for sexual health promotion among female sex workers because they have multiple sexual partners. Moreover, sex workers have been stigmatized by Thai culture and law. As a result, health promotion and prevention regarding sexual health care have also been limited. This study identified the factors based on the PRECEDE PROCEED Model, which showed that predispos- ing factors, enabling factors and reinforcing factors were important and essential to the sex workers’ knowledge, values, believe, and reinforcing skills that included the media as well as access to the resources necessary for sexual health. Therefore, guidelines for sexual health promotion in female sex workers should have strong personal skill development to equip female sex workers to achieve health literacy. Also the guidelines should seek to improve the public health system to become a proactive operation that needs to have strong collaborative partnerships with all sectors in order to provide health services to female sex workers so that they can reach for a better sexual health status.

Article Details

บท
บทความพิเศษ (Special Articles)

References

1. World Health Organization. Defining Sexual Health. (ออนไลน์). วันที่ค้นข้อมูล 10 ธันวาคม 2556, เข้าถึงได้จาก http://www.who.int/reproductivehealth/topics/sexual_health/sh_definitions/en/.
2. พยอม ประคอง. ความเชื่อด้านสุขภาพที่มีผลต่อการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ของหญิงอาชีพพิเศษ อำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา; 2554.
3. แหล่งบริการทางเพศและผู้ให้บริการทางเพศในประเทศไทย กลุ่มโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์. กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข; 2555.
4. ชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์. ธุรกิจนอกระบบ : ศึกษากรณีการค้าบริการทางเพศในสังคมไทย. การศึกษาตามหลักสูตรปริญญารัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการเมืองการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์; 2551
5. คณะกรรมการนักนิติศาสตร์สากล (International Commission of Jurists - ICJ) และมูลนิธิยุติธรรมเพื่อสันติภาพ (Justice for Peace Foundation - JPF). การเข้าถึงความยุติธรรมของผู้หญิง สำรวจอุปสรรคและการเปลี่ยนแปลงที่จำเป็น ประเทศไทย; 2554.
6. กฤตยา อาชวนิจกุล. เพศวิถีที่กำลังเปลี่ยนแปลงไปในสังคมไทย ในจุดเปลี่ยนประชากร จุดเปลี่ยนสังคมไทย. สุรีย์พร พันพึ่ง และมาลี สันภูวรรณ์ (บรรณาธิการ). นครปฐม : ประชากรและสังคม; 2554.
7. ภานุพงษ์ ชุ่มชื่น. โสเภณีเด็ก : กรณีศึกษาเมืองพัทยา. การศึกษาตามหลักสูตรปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารทั่วไป วิทยาลัยบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา; 2549.
8. Green, L.W., &Krueter, M. W. Health Program Planning: An Educational and Ecological Approach (4thed.). New York, NY: McGraw – Hill; 2005.
9. Green, L.W., &Krueter, M. W. CDC’s Planned Approach to Community Health as an Application of PRECEDE and an Inspiration for PROCEED. Journal of Health Education, 1992; 23(3).
10. วิลาวัลย์ ลิมปนะวรรณะกุล. กระบวนการเข้าสู่การตกเป็นเหยื่อการค้ามนุษย์ของหญิงและเด็ก : ศึกษาเฉพาะกรณีบ้านเกร็ดตระการ. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,2547.
11. อรนุช สีตบุตร.การแต่งงานข้ามชาติ : การสร้างเครือข่ายทางวัฒนธรรมการเลือกคู่สมรสหญิงอีสานกับชาวต่างชาติ วารสารอีสานศึกษา ความหลากหลายทางวัฒนธรรม 2553; 7(16)
12. ศกลวัฒน์วราโชติอินสกุล สิตานนท์ เจษฎาพิพัฒน์. สาเหตุที่ทำให้วัยรุ่นหญิงเป็นโสเภณีกรณีศึกษาเขตสายไหมกรุงเทพมหานคร วารสารคุณภาพชีวิตกับกฎหมาย 2556;9(3).
13. Zhang Youchun, Jane D. Brown, Kathryn E. Muessig, FengXianxiang, He Wenzhen. Sexual Health Knowledge and Health Practices of Female SexWorkers in Liuzhou, China, Differ by Size of Venue. AIDS Behav (2014) [Online] [cited 2013 Dec 10]. Available from:www.dovepress.com/getfile.php?fileID=8843
14. Willium, C.W., Wong, M.B., &Yilin, W. (2003). A qualitative study on HIV risk behaviors and medical needs of sex workers in a China/ Myanmar border town. Aids patient care and STDs, 17(8), p417-422.
15. เสาวนีย์ ทองนพคุณ พิศมัย หอมจำปา.ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพทางเพศของหญิงอาชีพพิเศษ ในเขตพื้นที่เมืองพัทยา จ.ชลบุรี. การประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 9 ระหว่างวันที่ 14-15 มีนาคม 2551 มหาวิทยาลัยบูรพา บางแสน.
16. แผนงานสร้างเสริมสุขภาวะทางเพศ สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสุขภาพ. อัตราการใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งของหญิงขายบริการ, 2558.[ออนไลน์] [15 กุมภาพันธ์ 2558] เข้าถึงได้จากhttp://www.hiso.or.th/hiso/visualize/Series.php?v=
17. จันทรา พรหมน้อย ประณีต ส่งวัฒนา เนตรนภา พรหมเทพ อารีย์ อ่องสว่าง. ปัญหาและความต้องการด้านอนามัยการเจริญพันธ์เพื่อป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในกลุ่มหญิงอาชีพพิเศษ : กรณีศึกษา จังหวัดนราธิวาส. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ 2552; 1(2).
18. ผลการเฝ้าระวังการติดเชื้อเอชไอวี โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอชไอวีโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์มือถือ ในกลุ่มพนักงานบริการ (FSW venue base) ในพื้นที่ 12 จังหวัดของประเทศไทย พ.ศ.2555. สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข; 2557.
19. ทิพย์วิมล เดชภูมี และเกษราวัลณ์ นิลวรางกูล. คุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของผู้หญิงขายบริการทางเพศในจังหวัดแห่งหนึ่งของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารสมาคมพยาบาล ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ; 2555.
20. Orem, D.E. Nursing Concepts of Practice. New York: McGraw-Hill; 1985.
21. SaowaneeThongnopakun. Factors Related to Sexual Health Care Behaviors of Woman Sex Workers in Pattaya City of Chon Buri Province. [Master Degree of Public Health]. Graduate School Burapha University; 2006.
22. กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ. รายงานทบทวนและสังเคราะห์สถานการณ์การป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอชไอวีที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจบริการทางเพศในประเทศไทย. ธันวาคม 2550.
23. รัตนาภรณ์ตังธนเศรษฐ์. วิถีชีวิตและพฤติกรรมการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ของหญิงอาชีพพิเศษในธุรกิจคาราโอเกะ: กรณีศึกษาอำเภอเชียงของจังหวัดเชียงราย. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม). 2554.
24. World Health Organization. Health Literacy and Health Promotion. Definitions, Concepts and Examples in the Eastern Mediterranean Region. Individual Empowerment Conference Working Document. 7th Global Conference on Health Promotion Promoting Health and Development. Nairobi, Kenya.; 2009.