ความเครียดในงานและความพึงพอใจในงานที่ส่งผลต่อประสิทธิผลในการดำเนินงานวัณโรคของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน
Main Article Content
บทคัดย่อ
Job stress and job satisfaction affecting the effectiveness of tuberculosis operations at Tambon Health Promotion Hospitals in 7 Upper Southern Provinces
This research was cross-sectional explanatory research which aimed to find the association between job stress and job satisfaction of 223 officers of Tambon Health Promotion Hospitals who treated tuberculosis patients in 7 upper southern provinces of Thailand. Pearson’s product moment correlation and multiple regression analysis were used to analyze the data.
The research results revealed that the officers had a high level of effectiveness. They had the highest capability in adjustment (M = 3.72). They had low levels of job stress and job satisfaction. Factors that caused job stress the most were job description (M = 2.16) and satisfaction with job characteristics (M = 2.29). The experience and job satisfaction had a positive association, and job stress had a low level of negative association with the effectiveness of the officers (r = 0.13,0.24, and-0.15, respectively). Job stress and job satisfaction could explain 7% (R2 = 0.07) of the variance of the effectiveness of the officers.
This research recommends that, administrators should establish policies to reduce job stress and increase job satisfaction by designing the functional orientation and increasing decision-making potential in established areas of authority to be used in management and support.
การวิจัยแบบอรรถาธิบายภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างความเครียดในงาน และความพึงพอใจในงานต่อประสิทธิผลของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ในการดำเนินงานวัณโรค 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ใช้แบบสอบถามรวบรวมข้อมูลจากเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน 223 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และวิเคราะห์ถดถอยพหุ
ผลการวิจัยพบว่า โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน มีประสิทธิผลการดำเนินงานวัณโรคสูง โดยผู้รับผิดชอบงานด้านวัณโรคในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมีความสามารถในการปรับตัวมากที่สุด (M = 3.72) ความเครียดในงาน และความพึงพอใจในงาน มีระดับต่ำ ปัจจัยที่ทำให้เกิดความเครียดในงานมากที่สุดคือ ลักษณะงาน (M = 2.16) และ พึงพอใจในงาน ด้านการทำงานมากที่สุด (M = 2.29) ประสบการณ์ และความพึงพอใจในงาน มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับต่ำ และความเครียดในงานมีความสัมพันธ์ทางลบระดับต่ำกับประสิทธิผลของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในการดำเนินงานวัณโรค 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน (r = 0.13, 0.24 และ -0.15 ตามลำดับ) ความเครียดในงานและความพึงพอใจในงาน สามารถร่วมกันอธิบายความผันแปรประสิทธิผลของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในการดำเนินงานวัณโรค ได้ร้อยละ 7.00 ( R2 = 0.07)
ดังนั้น ผู้บริหารควรกำหนดนโยบายในการลดความเครียดในงาน และเพิ่มความพึงพอใจ ในงาน ด้วยการออกแบบการทำงานที่สามารถทำงานทดแทนกันได้ และเสริมสร้างศักยภาพการตัดสินใจ ในขอบเขตที่กำหนด มาใช้ในการบริหาร
Article Details
References
2. World Health Organization. Global Tuberculosis Report 2012. WHO Library Cataloguing-in-Publication Data; 2012: 124.
3. สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค. ฐานข้อมูลผลการดำเนินงานวัณโรคประเทศไทย http://192.167.
7.2/cohort/; 2553.
4. สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค. แผนยุทธศาสตร์การควบคุมวัณโรคแห่งชาติ เพื่อการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ 2558. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซด์; 2554: 7-8.
5. สุขสันต์ จิตติมณี. คู่มือแกนนำวัณโรคสำหรับชุมชน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: บริษัท วาย. เค. เอช. กราฟิค แอนด์ เพรส จำกัด; 2554: 1.
6. ศิรินภา จิตติมณี. คู่มือสำหรับเจ้าหน้าที่สถานีอนามัยหรือเทศบาล การมีส่วนร่วมของชุมชนในการควบคุมวัณโรค. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย; 2552: 17.
7. สุจริต ทุมจันทร์. ความสัมพันธ์ระหว่างความเครียดในงาน ความพึงพอใจในงาน และการปฏิบัติ งานของพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลอำนาจเจริญ. [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต]. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2546.
8. จีรภัทร์ สุวรรณพุ่ม. ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจในงาน ความผูกพันต่อองค์การ และประสิทธิผลการปฏิบัติงาน กรณีศึกษา การรถไฟแห่งประเทศไทย. [วิทยานิพนธ์ ปริญญาศิลปะศาสตร มหาบัณฑิต]. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล; 2552.
9. เพ็ญนภา ปัณฑุลักษณ์. ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจและความพึงพอใจในงานกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมกรุงเทพมหานคร. [วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยปทุมธานี1; 2553.
10. ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. จิตวิทยาการบริหารบุคคล. กรุงเทพมหานคร: สหมิตรออฟเซ็ท; 2535.
11. Hsieh F Y. Sample site table for logistic regression. Statistics in Medicine; 1989: 795-802.
12. Paul E Mott. The Characteristics of Effective Organization. New York: Harper and Row; 1972.
13. ฐิติรัตน์ อัศวนพเกียรติ. ลักษณะส่วนบุคคล และความคิดเชิงบวกกับความเครียดในการทำงานของพนักงานโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง ในเขตกรุงเทพมหานคร. [วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต]. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ; 2548.
14. Weiss D J & et. al. Manual for the Minnesota Satisfaction Questionnaire; 1967.
15. เสาวนิภา ฮุ่งหวล.ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความพึงพอใจในงาน การรับรู้บทบาทกับการปฏิบัติงานของพยาบาลอนามัยโรงเรียน. [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหา บัณฑิต]. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล; 2552.
16. สิทธนะ วชิระสิริกุล,วสุธร ตันวัฒนกุล,นิภา มหารัชพงศ์.ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่ออัตราความสำเร็จในการปฏิบัติงานตามแนวทางการควบคุมวัณโรคแห่งชาติ ของบุคลากรสาธารณสุขในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดชลบุรี. วารสารสาธารณสุขมหาวิทยาลัยบูรพา. 2557;9(2) : 76-84.
17. Phillip L Rice. Stress and Health. 8th ed. Brooks Cole; 1991: 194.
18. สมเกียรติยศ วรเดช,ปุญญพัฒน์ ไชยเมล์,เรืองฤทธิ์ สุวรรณรัตน์ และดวงพร ถวัลย์ชัยวัฒน์. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรด้านสาธารณสุข โรงพยาบาลกงหรา จังหวัดพัทลุง. วารสารวิชาการสาธารณสุข.2558; 24(2):262-272
19. บุญนริศ สายสุ่ม. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการดำเนินงานของสถานีอนามัยตามการรับรู้ของ
หัวหน้าสถานีอนามัยกระทรวงสาธารณสุข ประเทศไทย. [วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต]. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล; 2553.