ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันอาการภูมิแพ้ ของเด็กวัยเรียนโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยแบบบรรยายเชิงหาความสัมพันธ์นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการป้องกันอาการภูมิแพ้ของเด็กวัยเรียนโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง กลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กวัยเรียนโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ที่เข้ารับการรักษาในคลินิกภูมิแพ้ แผนกผู้ป่วยนอกกุมารเวชกรรม โรงพยาบาลสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ จังหวัดชลบุรี จำนวน 72 ราย คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบสะดวกตามคุณสมบัติที่กำหนด เก็บรวบรวมข้อมูลในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2558 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และสถิติสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า พฤติกรรมการป้องกันอาการภูมิแพ้ของเด็กวัยเรียนโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้โดยรวมอยู่ในระดับสูง มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 43.89 (SD = 7.37, range 14-56) การรับรู้สมรรถนะแห่งตนมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันอาการภูมิแพ้ของเด็กวัยเรียนโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .488, p < .001) สำหรับการรับรู้สิ่งแวดล้อมภายในและภายนอกบ้านไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันอาการภูมิแพ้ของเด็กวัยเรียนโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ (p > .05) ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า การรับรู้สมรรถนะแห่งตนมีความสำคัญต่อพฤติกรรมการป้องกันอาการภูมิแพ้ในเด็กวัยเรียน ดังนั้นพยาบาลและบุคลากรด้านสุขภาพควรส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนแก่เด็กวัยเรียน เพื่อให้มีพฤติกรรมการป้องกันอาการภูมิแพ้ในโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ที่เหมาะสมมากยิ่งขึ้น
Article Details
References
Child Health 2009; 48: 302-310.
2. สมาคมแพทย์โรคจมูก ราชวิทยาลัย โสต นาสิก แพทย์แห่งประเทศไทย. แนว
ทางการตรวจพัฒนารักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย. 2554 (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: https://rcot.org/datafile/_file/_doctor. (วันที่ค้นข้อมูล 26 มกราคม พ.ศ.2556)
3. Pawankar R. Allergic Disease: A global health public health tissue. Asian Pacific
Journal of Allergy Immunology 2012; 30: S3-S5.
4. Pawankar R, Baena-Cagnani CE, Bousquet J, Canonica GW, Cruz AA,
Kaliner MA, et al. State of World Allergy Report 2008: Allergy and chronic respiratory diseases. World Allergy Organization of Journal 2008; 1: 1-17.
5. Bunnag C, Jareonchasri P, Tantilipikorn P, Vichayanond P,Pawankar, R.
Epidemiology and Current Status of Allergic Rhinitis and Asthma in Thailand-ARIA Asia-Pacific Workshop Report. Asian Pacific Journal of Allergy and Immunology 2009; 27: 79-86.
6. Meltzer EO. Quality of life in adults and children with allergic rhinitis.
Journal of Allergy Clinical Immunology 2001; 103: S45-S53.
7. เสกสันต์ ชัยนันท์สมิตย์. ตำราหวัดเรื้อรัง (Chronic rhinitis). ขอนแก่น:
สำนักพิมพ์แห่งมหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2552.
8. McCabe PC. Academic function and quality of life of children and adolescent
with allergic rhinitis-part 1. Communiqe 2008; 1: 8-10.
9. Sayin I, Cingi C, San T, Ulasoy S, Acar M. An important social problem:
Allergic rhinitis. Journal of Medical Update 2013; 3(2): 91-95.
10. Emin O, Mustafa S, Nedim S. Psychological stress and family functioning in
mother of children with allergic rhinitis. International Journal of Pediatric Otorhinolarygol 2009 ;73: 1795-1798.
11. Richard N, Sauriol L, Cristian S. The Effect of Seasonal Allergic Rhinitis
in Children on Caregivers' Lives: A pilot study. Pediatric Asthma, Allergy & Immunology 2009; 14(2): 119-124.
12. Hordojojo A, Shek PC, Bever PS, Lee BW. Rhinitiss in children less
than 6 years of age: current knowledge and challenges. Asia Pacific Allergy 2011; 1: 115-122.
13. พรรณทิพย์ ศิริวรรณบุศย์. ทฤษฎีจิตวิทยาพัฒนาการ (พิมพ์ครั้งที่ 5 ฉบับปรับปรุง).
กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2553.
14. องค์การอนามัยโลก. องค์ประกอบด้านสุขภาพ ขององค์การอนามัยโลก ฉบับ
ภาษาไทย. กรุงเทพฯ: พรีเมี่ยม เอ็กซ์เพรส; 2555.
15. วีระศักดิ์ เจริญพันธ์ และเฉลิมพล ตันสกุล. พฤติกรรมสุขภาพ. มหาสารคาม:
โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา; 2550.
16. Green LW, Kreuter MW. Health Program Planning: An Educational
and Ecological Approach. New York: The McGraw Hill Companies; 2005.
17. Bandura A. Self-efficacy: Toward a unifying theory of behavior change.
Psychological review 1997; 84: 191-215.
18. Kaul T. Helping African American children self-management asthma: The
importance self-efficacy. Journal of School Health 2011; 81(1): 29-33.
19. ปรียานุช นิธิรุ่งเรือง. ปัจจัยทำนายพฤติกรรมป้องกันอาการภูมิแพ้ในเด็กวัยเรียน
(วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลเด็ก). บัณฑิตวิทยาลัย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2554.
20. Cohen J. Statistic power analysis for the behavior sciences. New York: Academic
Press; 1988.
21. อุรารักษ์ ลำน้อย. ผลของการใช้โปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อ
พฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้ป่วยเด็กวัยเรียนโรคหอบ (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลเด็ก). บัณฑิตวิทยาลัย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2551.
22. Chaimongkol N, Pongjaturawit Y. Associated between selected family and
social factors and health behavior of school-age children in Thailand. Journal of Science, Technology and Humanities 2014; 12(1): 33-42.
23. Evan D, Clark NM, Feldman CH, Rips J, Kaplan D, Levison MJ, et al.
A school health education program for children with asthma aged 8-11 years. [online]. 2009
[cited 2012 September 20]. Available from: https://www.heb.sagepub.com/cgi/content.
24. Butz A, Pham L, Lewis L, Lewis C, Hill K, Walker J, et al. Rural children with asthma: Impact of a parent and child asthma education program. Journal of Asthma 2008; 42(10): 813-821.
25. Barrett J, Dunkinn JW, Shelton M. Examination of the NHANES Data Set:
Pets, Wheezing, and Allergy Symptoms. Southern Online Journal of Nursing Research 2001; 1(2): 1-10.