การเปรียบเทียบระดับความเจ็บปวด ในการฉีดสเตียรอยด์เข้าหูชั้นกลาง ระหว่างการใช้ 10% Lidocaine spray 10 และ 20 นาที Lidocaine Spray 10 or 20 minutes for IT injection
Main Article Content
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ : เปรียบเทียบผลการใช้ 10% Lidocaine spray ระยะเวลา 10 นาทีและ 20 นาที ก่อนการฉีดสเตียรอยด์เข้าหูชั้นกลางในผู้ป่วยประสาทหูเสื่อมเฉียบพลันแบบไม่ทราบสาเหตุ
วัสดุและวิธีการ : ศึกษาแบบการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่มย่อย ณ แผนกผู้ป่วยนอกโสต ศอ นาสิก โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ผลการศึกษา : มีผู้ป่วย 32 ราย ค่า p-value ระหว่างสองกลุ่ม ของระดับความเจ็บปวด 11-point numeric rating scales (NRS-11) รวมของเยื่อแก้วหูทุกตำแหน่ง 1) หลังดูด 10% Lidocaine ออกจากช่องหู = 0.61 2) ขณะแทงเข็มผ่านเยื่อแก้วหู = 0.86 3) เมื่อดูดยาชาออกแล้ว 30 นาที = 0.04 ระดับความพึงพอใจต่อการทำหัตถการโดยรวม ร้อยละ 81 อยู่ในระดับดีถึงดีมาก ค่า p-value ของผลข้างเคียง ระหว่างสองกลุ่ม = 0.39
สรุป : ระดับความเจ็บปวดหลังหยอดยาครบเวลาและขณะแทงเข็มผ่านเยื่อแก้วหู ความพึงพอใจและผลข้างเคียงของการใช้ยาชาทั้งสองไม่ต่างกัน
คำสำคัญ การฉีดยาสเตียรอยด์ผ่านเยื่อแก้วหู ยาชาเฉพาะที่ ลิโดเคน ระดับความเจ็บปวด
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ต้นฉบับที่ส่งมาพิจารณายังวารสารหู คอ จมูก และใบหน้า จะต้องไม่อยู่ในการพิจารณาของวารสารอื่น ในขณะเดียวกันต้นฉบับที่จะส่งมาจะผ่านการอ่านโดยผู้ทรงคุณวุฒิ หากมีการวิจารณ์หรือแก้ไขจะส่งกลับไปให้ผู้เขียนตรวจสอบแก้ไขอีกครั้ง ต้นฉบับที่ผ่านการพิจารณาให้ลงตีพิมพ์ถือเป็นสมบัติของวารสารหู คอ จมูกและใบหน้า ไม่อาจนำไปลงตีพิมพ์ที่อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต
ตารางแผนภูมิ รูปภาพ หรือข้อความเกิน 100 คำที่คัดลอกมาจากบทความของผู้อื่น จะต้องมีใบยินยอมจากผู้เขียนหรือผู้ทรงลิขสิทธิ์นั้นๆ และใหร้ะบุกำกับไว้ในเนื้อเรื่องด้วย
References
de Cates C, Winters R. Intratympanic Steroid Injection. 2022 Jul 1. In: StatPearls [Internet]. Treasure Island (FL): StatPearls Publishing; 2022 Jan–. PMID: 33620785.
Mina MMF, Cheng KS. Office myringotomy and ventilation tube insertion using 10% xylocaine aerosol. J Otolaryngol1987;16:74-6.
Sunthornsaj N, Fun LW, Evangelista LF, et al. MIMS annual: Thailand index of medical specialities. 18th ed. Bangkok: TIM Thailand Ltd 2006.
Moller A, Grontved A. Topical anaesthesia of the normal tympanic membrane. ORL 1989; 52:168-73.
Maschunchai N, Suetrong S, Chainansamit S, Reechaipichitkul V, Kasemsiri P, Piromchai P. Which is Better? 10% Xylocaine Packing vs. 2%Lidocaine Local Injection for Myringotomy: A Randomized Controlled Pilot Study. J Med Assoc Thai 2018;101:143.
Hjermstad MJ, Fayers PM, Haugen D, et al. Studies comparing numerical rating scales verbal rating scales and visual analogue scales for assessment of pain intensity in adults. JPSM 2011;46:1073-93.
Belhassen S, Saliba I. Pain assessment of the intratympanic injections. Eur Arch Otorhinolaryngol 2012; 269:2467–73.
Jarred Y, Rebecca M, Sean M. Pain outcomes: a brief review of instruments and techniques. Curr Pain Headache Rep 2009;13: 39–43.
Balasubramanian N. Likert technique of attitude scale construction in nursing research. Asian J Nurs Edu 2012; 2:65-9.
Olsen et al. Pain relief that matters to patients: systematic review of empirical studies assessing the minimum clinically important difference in acute pain. BMC Medicine 2017; 15:35.
Schmidt SH, et al. Short-term effects on local anaesthetic agents on the structure of the rat tympanic membrane. Arch Otorhinolaryngol 1984; 240:159-166.