การศึกษาปัจจัยที่ทำให้เกิดความเครียดในนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ มหาวิทยาลัยในเขตภาคตะวันออก

ผู้แต่ง

  • ณัฏฐพิชชา คุณสันติพงษ์ วิทยาลัยการแพทย์แผนไทยอภัยภูเบศร
  • เสาวลักษณ์ จันทเสน
  • อภิญญา จวงไธสง
  • นันท์นภัส ชัชวาลย์
  • จันทรพร มีทองแสน
  • แสงฉาย มุ่ยปอง

คำสำคัญ:

ความเครียด, การแพทย์แผนไทย, นักศึกษาระดับปริญญาตรี

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทั้ง 6 ด้าน ได้แก่ ปัจจัยด้านการเรียน ปัจจัยด้านสังคม ปัจจัยด้านครอบครัว ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม และปัจจัยด้านความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น ที่ส่งผลให้เกิดความเครียดในนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ มหาวิทยาลัยในเขตภาคตะวันออก ที่กำลังศึกษาในปีการศึกษา 2561 เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามออนไลน์ ซึ่งประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ แบบคัดกรองความเครียด แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป และแบบสอบถามปัจจัยที่ทำให้เกิดความเครียด ผลการศึกษาพบว่านักศึกษาที่ตอบแบบสอบถามเป็นเพศหญิงมากกว่าเพศอื่น คิดเป็นร้อยละ 61.3 มีช่วงอายุตั้งแต่ 18-30 ปี โดยพบอายุ 21 ปี ในสัดส่วนมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 26 นักศึกษามีความเครียดในระดับรุนแรง ระดับสูง ระดับปานกลางและระดับต่ำ คิดเป็นร้อยละ 68.66, 20.66, 10, 0.66 ตามลำดับ โดยปัจจัยที่ทำให้เกิดความเครียดที่สำคัญของนักศึกษาคือ ด้านสังคม ได้แก่ การไม่มีเวลาในการพักผ่อนเพียงพอ (ร้อยละ 75.33) และด้านการเรียน ได้แก่ ไม่สามารถเข้าใจเนื้อหาที่เรียนได้อย่างชัดเจน (ร้อยละ 52.66) และตารางเรียนในแต่ละสัปดาห์ไม่เหมาะสม (ร้อยละ 50)

References

Abouseri, Reda. (1994). Sources and levels of stress in relation to locus of control and self esteem in university studens: Educational Psychology. An International Journal of Experimental Educational Psychology. 14(3).

Beck D.L., Hackett M.B., Srivastava R., McKim E. (1997). Perceived level of and sources of stress in university. J Nuns Educ. 36(4): 180- 6.

Chomnapas Wangein, (2018). Level of stress. Retrieved Mar 10, 2019 from https://www.thaihealth.or.th/ Content/41337-4.html. (in Thai)

Department of Mental Health, Ministry of Public Health. (2015). Relaxation. Retrieved Mar 10, 2019 from https://www.dmh.go.th/news/view.asp?id=1012. (in Thai)

Komkrich Nuntarojphong, Phuthip Meethawornkul, Theerawat Chanthuek. (2018). The Analysis of Causal Relationship of Factors Affected to the Stress Management Behaviors of the Middle Adolescents. Retrieved Mar 10, 2019 from https://www.tci-thaijo.org/index.php/psujssh/article/view/127907. (in Thai)

Naphatsakorn Khantakhuan, (2015). Stress and related-factors of the first year undergraduate students of Chulalongkorn University. Faculty of Medicine Chulalongkorn University. Retrieved Feb 13, 2019 from http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50548. (in Thai)

Lawal Suthikamol, Umnat Rattanawilai, Nawapond Hirunwiwatkul. (2010). Prevalence and sources of stress among the medical cadets and the medical students in Phramongkutklao Collage of Medicine. Journal of the Psychiatric Association of Thailand, 55(4): 329- 336. (in Thai)

Unchalee Too. (2019). Department of Mental Health has been worrying about Thai Teenagers have Stress due to Depression. Department of Mental Health, Ministry of Public Health. Retrieved Jul 10, 2019 from http://www.prdmh.com.html. (in Thai)

Wassadee Kaewprapan, Wilailuck Katekaew, Pakakrong Narmsane. (2011). The Study of the Undergraduates Stress Factors and ways to Deal With Their Stress, Faculty of Liberal Arts, Rajamanagala University of technology Srivijaya Songkla. Retrieved May 13, 2019 from http://newtdc.thailis.or.th/docview.aspx?tdcid =43171. (in Thai)

Seaward BL. (1999). The nature of stress: college student. Principles and Strategies for Health

and Wellbeing. Toronto: Jone and Bartlett Learning. Retrieved May 13, 2019 from http://samples.jbpub.com/ 9781284126266/9781284137965_CH01_Print_12835_1.pdf.

Zweig NB. (1988). Stressful Evens and Ways of Coping of Baccalaureate Student Nurses in the Clinical Laboratory [CD-ROM].

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-21