การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วยศาสตร์มณีเวช

ผู้แต่ง

  • นวรัตน์ ไวชมภู มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา

คำสำคัญ:

การส่งเสริมสุขภาพ, ศาสตร์มณีเวช, ผู้สูงอายุ

บทคัดย่อ

การส่งเสริมสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุนั้นมีความลึกซึ้งในแง่วิธีการและการลงสู่การปฏิบัติที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อนรวมถึงความเหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงตามกายวิภาคและสรีรวิทยาของผู้สูงอายุ ศาสตร์มณีเวชเป็นศาสตร์แห่งการปรับโครงสร้างร่างกายให้อยู่ในภาวะสมดุลที่ผสมผสานศาสตร์ทางแพทย์แผนไทย จีนและอินเดีย มาประยุกต์ต่อยอดเพื่อปรับสมดุลให้กับร่างกาย ซึ่งวิธีการในการปฏิบัติไม่ยุ่งยาก สามารถปฏิบัติได้ทุกที่ทุกเวลา ไม่ต้องอาศัยอุปกรณ์ใด ๆ จึงมีความเหมาะสมในการนำมาส่งเสริมสุขภาพให้กับผู้สูงอายุ บทความนี้มุ่งเน้นการนำศาสตร์มณีเวชมาใช้ในการส่งเสริมสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุใน 2 ประเด็น คือ 1) การใช้ชีวิตอย่างสมดุล ได้แก่ การยืน การเดิน การนั่ง และการนอน 2) การบริหารร่างกาย ได้แก่ การบริหารร่างกายส่วนบน 5 ท่า (ท่าไหว้สวัสดี ท่าโม่แป้ง ท่าถอดเสื้อ ท่ากรรเชียง และท่าปล่อยพลัง) และการบริหารร่างกายส่วนล่าง 3 ท่า (ท่างู ท่าแมว และท่าเต่า) โดยผู้สูงอายุควรปฏิบัติตามศาสตร์มณีเวชให้เป็นส่วนหนึ่งในการดำเนินชีวิตเพื่อส่งเสริมสุภาพกายให้มีความแข็งแรงตามสภาพของร่างกายตามช่วงวัย

References

Boromthanarat, C. (2013). Balance of the structure of the body with Maneevej. Retried 12

May 2020 from https://www.stou.ac.th/Schools/Shs/booklet/book56_2/health.htm

Bureau of Policy and Strategy. (2014). Strategy, Indicators and Guidelines for Data Storage Ministry of Public Health Fiscal Year 2015 Revised 30

September 2014. Nonthaburi: Ministry of Public Health. (in Thai).

Center for Technology and Communication. (2014). Thai Elderly: Present and Future. Office of the Permanent Secretary. Social Development and

Human Security. (in Thai)

Kaewmokk, W. (2017). The effects of training the elderly with Maneevej exercise technique on body balancing, flexibility and strength. Burapha

Journal, 4(1):31-3. (in Thai)

Ningsanon, N. (2011). Maneeivej for a comfortable easy life. Srinakharinwirot University

Journal (Science and Technology Program). 3: 1-12. (in Thai)

Paengwongsa, P. (2016). Effects of a ManeeVej Program and Knowledge Management for

Reducing Back Pain. Retried 12 May 2020 from https://research.pcru.ac.th/rdb/pub lished/dataview/769

Pender, N. J. (1996). Health promotion in nursing practice (3rd ed.). Stamford, Conn: Appleton and Lange.

Saengthong, J. (2018).Aging Society (Complete Aged ):The elderly condition of good

quaity. Rusamilae Journal, 8(1):6-28. (in Thai)

Simplee, S. & Banchonhattakit, P. (2019). Effects of Health Literacy Promoting Programs and Exercise by Applying Maneewach Exercise for Preventing

Fall in Elderly at Buriram Province. Journal of Health Education, 42(2): 149-159.

Paengwongsa, P. (2016). Effects of a ManeeVej Program and Knowledge Management for

Reducing Back Pain. Retried 12 May 2020 from https://research.pcru.ac.th/rdb/pub lished/dataview/769

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-07-08