บทบาทการดำเนินงานการผลิตบัณฑิตด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ในทศวรรษหน้าของสถาบันพระบรมราชชนก
บทคัดย่อ
สถาบันพระบรมราชชนกมีกิจในการผลิตบัณฑิตด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ โดยศตวรรษที่ 21 กับวิถีชีวิตรูปแบบใหม่ซึ่งทิศทางในทศวรรษหน้าของสถาบันพระบรมราชชนก จะมุ่งเน้นผลิตบัณฑิตที่มีความคิดสร้างสรรค์ มีการสื่อสารทางด้านสุขภาพ สามารถสร้างความร่วมมือและประสานงานร่วมกับผู้อื่นได้ และนำไปสู่การเป็นผู้นำชุมชนทางด้านสุขภาพ ซึ่งผ่านกระบวนการบ่มเพาะองค์ความรู้จากคณาจารย์ผู้สอนมืออาชีพ ยึดหลักการทางด้านสุขภาพ สร้างนำซ่อม และนำนโยบาย สบช Model 2022 บัตรส่งเสริมสุขภาพครอบครัว 30 บาทป้องกันทุกโรค เพื่อตอบสนองความต้องการบุคลากรทางด้านสุขภาพสำหรับการให้บริการประชาชนอย่างเป็นระบบ โดยความสำเร็จในการผลิดบัณฑิตด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ในทศวรรษหน้าและให้ทันกับสถานการณ์ในปัจจุบัน จึงมีการดำเนินการจัดทำโครงการแก้ปัญหาวิกฤตชาติ โรคโควิด-19 เป้าหมาย 1 วิทยาลัย: 1 จังหวัด: 1 ตำบล (สบช.Model 2022) ด้วยบัตรสร้างสุขภาพครอบครัว 30 บาท ป้องกันทุกโรค เป็นนโยบายในการถ่ายทอดการปฏิบัติงานให้บรรลุตามผลสำเร็จ มีความร่วมมือในโครงการ สบช.สัญจร เพื่อสร้างความร่วมมือกับสถานบันการศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการเพื่อเพิ่มศักยภาพในการรับเด็กนักเรียนเข้ามาเป็นนักศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพในอนาคต สถาบันจึงมีบทบาทสำคัญในการสร้างบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพในศตวรรษที่ 21
References
Atiya Sarakshetrin, Chutima Malai, Panisara Songwatthanayuth& Suthanan Kunlaka.(2020). Nursing College among Production and Development of Primary Health Personnel:in the Transition Era. Rajawadeesan, Boromarajonani College of Nursing,Surin.10(2):80-92.
BNCCHON. (2021). About the Praboromarajchanok Institute. http://www.bnc.ac.th/eng/index.php/about
Hathaichnok Boujarean and Wariya Chankham.(2020). Application of health innovations with artifificial intelligence in nursing. Thai Journal of Nursing, 69(4), 60-67.
Innovation Research and Development Division.(2021). Tasks of the Innovation Research and Development Division. http://www2.pi.ac.th/workgroup/43/1
Jiraphan Phothong.(2019). Academic Service Model for Elderly. The Journal of Boromarjonani College of Nursing Suphanburi.2(2):5-11.
Phra Thammanoon Phetlert & Phakdee Phosingha. (2016). Public Policy Healthy Insurance. Dhammathas Academic Journal.16(2):275-284.
Phayong Thepaksorn & et all.(2021). Needs for Future Students in a Potential Master of Public Health(International Program), Faculty of Public Health and Allied Health
Sciences, Praboromarajchanok Institute. Journal of Prachomklao College of Nursing, Phetchaburi Province.4(2):93-110.
Wiwat Rojanapittayakorn.(2019). Praboromarajchanok Institute : the new Thai higher education institution. Journal of Health Science. 28(Special Issue): 1-2.
Somkid Juwa, Rung Wongwat & Anukool Manoton. (2019). The Effectiveness of the Health Behavior Change Program with7 Colors Ball Tool on Knowledge, Health Belief and Behavior Related to the Prevention and Control of Hypertension andDiabetes Mellitus, in Maeka Sub-District,Muang District, Phayao Province. Songklanagarind Journal of Nursing.39(2):127-141.
Somjit Daenseekaew & et all. (2016). Equality and Opportunity for Lifelong Learning to Improve Quality of Life. Ratchaphruek Journal. 14(3):10-19.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารสาธารณสุขและวิทยาศาสตร์สุขภาพ
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความทุกบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของ วารสารสาธารณสุข