ความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะเปราะบางในผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่เข้ารับบริการ ณ แผนกตรวจโรคผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า
คำสำคัญ:
ภาวะเปราะบาง, ผู้สูงอายุ, โรคเบาหวาน, ความชุกบทคัดย่อ
ที่มาและวัตถุประสงค์: จากการศึกษา พบว่าผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานมีภาวะเปราะบางถึง 21.95% ซึ่งสูงกว่าผู้สูงอายุทั่วไปนอกจากนี้ ผู้ป่วยเบาหวานยังมีโอกาสเกิดภาวะเปราะบางสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ โดยปัจจัยเสี่ยงได้แก่ อายุมากกว่า 70 ปี การอยู่คนเดียว และการสูบบุหรี่ แบบวิจัย: การศึกษาเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง วัสดุและวิธีการ: เก็บข้อมูลในกลุ่มผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวาน โดยใช้แบบสอบถามข้อมูลปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะเปราะบางและแบบประเมินภาวะเปราะบาง(FRAIL scale) ใช้สถิติเชิงพรรณนาหาค่าความชุกของภาวะเปราะบางและใช้สถิติการถดถอยโลจิสติกเพื่อหาปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
ผลการศึกษา: จากการเก็บข้อมูลในผู้สูงอายุโรคเบาหวานจำนวน 205 คน พบความชุกของภาวะเปราะบาง ร้อยละ 21.95 ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเกิดภาวะเปราะบางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติได้แก่ อายุมากกว่า 70 ปี (AOR 2.6, p 2.068), อาศัยอยู่คนเดียว (AOR 4.9 p 0.001), การสูบบุหรี่ (AOR 12.2, p <0.001), โรคไต (AOR 2.7 p 0.049), โรคหัวใจและหลอดเลือด (AOR 6.8 p 0.013), มีภาวะพึ่งพิงหรือพึ่งพิงบางส่วน (AOR 7.6 p < 0.001) สรุป: พบความชุกของภาวะเปราะบางในผู้สูงอายุโรคเบาหวานร้อยละ 21.95 โดยปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ อายุมากกว่า 70 ปี, อยู่คนเดียว, การสูบบุหรี่, โรคไตและโรคหัวใจและหลอดเลือดและมีภาวะพึ่งพิงหรือพึ่งพิงบางส่วน การเข้าไปคัดกรองและส่งเสริมสร้างเสริมสุขภาพในผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงจะลดการการเกิดภาวะปราะบางลงได้
References
สถิติผู้สูงอายุของประเทศไทย 77 จังหวัด ณ.วันที่ 31 ธันวาคม 2565 [Internet]. กรมกิจการผู้สูงอายุ (ผส.) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. Available from: https://www.dop.go.th/th/know/side/1/1/1766
Eeles EM, White SV, O'Mahony SM, Bayer AJ, Hubbard RE. The impact of frailty and delirium on mortality in older inpatients. Age and Ageing. 2012;41(3):412–6.
สิราณี ศรีหาภาค, โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ และ คณิศร เต็งรัง. (2556). ผลกระทบและภาระการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวภายใต้วัฒนธรรมไทย. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงสาธารณสุข
World Health Organization. WHO clinical consortium on healthy aging topic focus: frailty and intrinsic capacity [Internet]. 2017 [Cited 2018 June 1]; Available from: https://apps.who.int/iris/handle/10665/27 2437
Fried LP, Tangen CM, Walston J, Newman AB, Hirsch C, Gottdiener J, et al. Frailty in older adults: evidence for a phenotype. J Gerontol A Biol Sci Med Sci. 2001;56(3):M146-56.
Gobbens RJJ, Luijkx KG, WijnenSponselee MT, Schols JMGA. Towards an integral conceptual model of frailty. J Nutr Health Aging. 2010;14(3):175-81
Vermeiren S, Vella-Azzopardi R, Beckwee D, Habbig AK, Scafoglieri A, Jansen B, et al. Frailty and the prediction of negative health outcomes: a meta-analysis. J Am Med Dir Assoc. 2016;17(12):1163.e1-17.
Vaingankar, J.A. , Chong, S.A. , Abdin, E. , Picco, L. , Chua, B.Y. , Shafie, S. , Ong, H.L. , Chang, S. , Seow, E. , Heng, D. , Chiam, P.C. , Subramaniam, M. , 2017. Prevalence of frailty and its association with sociodemographic and clinical characteristics, and resource utilization in a population of Singaporean older adults. Geriatr. Gerontol. Int. 17 (10), 14 4 4–1454
Li, C.L., Stanaway, F.F., Lin, J.D., Chang, H.Y., 2018. Frailty and health care use among community-dwelling older adults with diabetes: a population-based study. Clin. Interv. Aging 13, 2295–2300.
Nguyen, T.T.H., Vu, H.T.T., Nguyen, T.N., Dao, H.T., Nguyen, T.X., Nguyen, H.T.T., Dang, A.K., Nguyen, A.T., Pham, T., Vu, G.T., Tran, B.X., Latkin, C.A., Ho, C.S.H., Ho, R.C., 2019. Assessment of nutritional status in older diabetic outpatients and related factors in Hanoi, Vietnam. J. Multidiscip. Health 12, 601–606.
สุพรรณ ใจดี และคณะ. การศึกษาภาวะเปราะบางของผู้สูงอายุในชุมชน กรุงเทพมหานคร. วารสารแพทย์นาวี 2560; 44(3): 117-135
Chen CY, Wu SC, Chen LJ, Lue BH. The prevalence of subjective frailty and factors associated with frailty in Taiwan. Arch Gerontol Geriatr 2010;50 Suppl 1:S43-7.
Runzer-Colmenares FM, Samper-Ternent R, Al Snih S, Ottenbacher KJ, Parodi JF, Wong R.Prevalence and factors associated with frailty among Peruvian older adults. Arch Gerontol Geriatr 2014;58(1):69-73.
Collard RM, Boter H, Schoevers RA, Oude Voshaar RC. Prevalence of frailty in community–dwelling older persons: A systematic review. J Am Geriatr Soc 2012;60(8):1487-92.
สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์. แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุ : Geriatric syndromes. นนทบุรี: สถาบันเวัชศาสตร์ ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข; 2558.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารสาธารณสุขและวิทยาศาสตร์สุขภาพ
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความทุกบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของ วารสารสาธารณสุข