การส่งเสริมการออกกำลังกายแบบแอโรบิคสำหรับผู้สูงอายุ

ผู้แต่ง

  • อาทิตย์ เข็มทอง สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกำลังกาย คณะสหเวชศาสตร์ วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น
  • ชาญชัย แสงอ่อน สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกำลังกาย คณะสหเวชศาสตร์ วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น

คำสำคัญ:

การออกกำลังกายแบบแอโรบิค, ความทนทานของหัวใจและหลอดเลือด, ผู้สูงอายุ

บทคัดย่อ

             การออกกำลังกายมีความสำคัญต่อสุขภาพของผู้สูงอายุ โดยผู้สูงอายุต้องออกกำลังกายให้เหมาะสมกับสภาพของร่างกาย และความสามารถในการงานของระบบต่างๆ การออกกำลังกายแบบแอโรบิคเพื่อเพิ่มความทนทานของหัวใจและหลอดเลือด เป็นการออกกำลังกายที่ควรแนะนำสำหรับผู้สูงอายุ บทความนี้นำเสนอเกี่ยวกับกลไก หลักการออกกำลังกายข้อควรปฏิบัติ และวิธีการส่งเสริมการออกกำลังกายแบบแอโรบิคในผู้สูงอายุ

 

References

กรมกิจการผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. การดำเนินงานด้านผู้สูงอายุของประเทศไทยตามแผนปฏิบัติการระหว่างประเทศมาดริดว่าด้วยเรื่องผู้สูงอายุ พ.ศ. 2560 – 2564 [อินเตอร์เน็ต]. 2560 [เข้าถึงเมื่อ 12 กรกฎาคม 2564]. เข้าถึงได้จาก: http://www.dop.go.th/upload/laws/law_th_20161107085040_1.pdf

World Health Organization. (2016). Mental health and older adults. Retrieved November 14, 2021, from http://www.who.int/mediacentre/factsheets/fs381/en/Updated April 2021

ธวัช บุญนวล. ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ข้อมูลข่าวสารจากการสื่อสารสุขภาพกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนในอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี. ว.วิทยาการจัดการ 2560; 4(2): 257-284.

พิมผกา ปัญโญใหญ่. การออกกำลังกายแบบแอโรบิคสำหรับผู้สูงอายุ. ว.พยาบาลศาสตร์และสุขภาพ 2555; 35(2): 140-148.

ไพรัช คงกิจมั่น, นาทรพี ผลใหญ่, ณัฐิกา เพ็งลี. ผลของโปรแกรมการฝึกพลัยโอเมตริกที่มีต่อพลังกล้ามเนื้อและทักษะกีฬาบาสเกตบอลของนักกีฬาบาสเกตบอลเยาวชนชายโรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย. ว.สุขศึกษาพลศึกษาและสันทนาการ 2562; 45(2): 135-154.

American College of Sports Medicine (ACSM). ACSM’s guidelines for exercise testing and prescription. 6th ed. Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins; 2000.

ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุคส์พับลิเคชั่นส์.

วัลภา บูรณกลัศ. ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง สัมพันธภาพในครอบครัวกับความสุขของผู้สูงอายุในชุมชนแห่งหนึ่ง เขตสายไหม กรุงเทพมหานคร. ว.พยาบาลตำรวจ 2560; 9(2): 24-32.

เจริญ กระบวนรัตน์. วิทยาศาสตร์การฝึกสอนกีฬา. กรุงเทพฯ: สินธนาก๊อปปี้; 2557.

อรนิษฐ์ แสงทองสุข. การศึกษาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในประเทศไทย กรณีศึกษา เขตกรุงเทพมหานคร ปทุมธานี และนนทบุรี [วิทยานิพนธ์]. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีปทุม; 2563.

วาสนา สิทธิกัน. ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลตำบลบ้านโฮ่ง จังหวัดลำพูน [วิทยานิพนธ์]. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่; 2560

อนงค์นุช รุ่งหิรัญศักดิ์, ชนะวงศ์ หงษ์สุวรรณ, ชาญชัย ชอบธรรมสกุล, ธงชัย เจริญทรัพย์มณี. ผลของการฝึกพลัยโอเมตริกที่มีต่อพลังกล้ามเนื้อขาของนักกีฬายกน้ำหนักหญิง. ว.สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ 2563;2(3)1-10.

Leenders NYJM. Clinical exercise physiology. In: Ehrman JK, Gordon PM, Visich PS, Keteyian SJ, editors, Clinical exercise physiology. Massachusetts: Human Kinetics; 2003.

Leutholtz BC, Ripoll I. Exercise and disease management. Boca Raton: CRC Press; 1999.

ดาราวรรณ รองเมือง, ฉันทนา นาคฉัตรีย์, จีราพร ทองดี, และจิตติยา สมบัติบูรณ์. อุบัติการณ์ของการหกล้ม และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการหกล้มในผู้สูงอายุที่อาศัยในชุมชน จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี 2561; 27(1): 123-138.

ประภาสวัชร์ งามคณะ. พฤติกรรมการดูแลสุขภาพของคนไทยในเขตปริมณฑล. ว.วิชาการมหาวิทยาลัยปทุมธานี 2557; 6(2): 21-30.

ปัณณทัต บนขุนทด, ชนาธิป สันติวงศ์, นิภา สุทธิพันธ์, ถาวรีย์ แสงงาม, ทิตยาวดี อินทรางกูร, วิภาดา กาญจนสิทธิ์, และคนอื่นๆ. ความรู้และพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนและการออกกำลังกายประยุกต์ท่ารำอัปสราในเขตตำบลอิสาณ อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์. เอกสารประกอบการประชุมและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 17 เรื่อง “งานวิจัยเพื่อการสร้างเสริมพลังสังคมสู่เศรษฐกิจไทยด้วยวิถีชีวิตใหม่ (New Normal)” พ.ศ. 2563; ณ มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น จังหวัดปทุมธานี; 2563.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-04-30