ผลการพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการพลัดตกหกล้มของผู้ป่วยห้องฉุกเฉิน โรงพยาบาลศรีบุญเรือง

ผู้แต่ง

  • ราชวัช ทวีคูณ งานอุบัติเหตุฉุกเฉิน กลุ่มงานการพยาบาล โรงพยาบาลศรีบุญเรือง

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

การวิจัยและพัฒนา (research and development) นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและศึกษาผลการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการพลัดตกหกล้มของผู้ป่วยห้องฉุกเฉิน โรงพยาบาลศรีบุญเรือง กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม จำนวน 329 คน และพยาบาลวิชาชีพ งานอุบัติเหตุฉุกเฉิน จำนวน 11 คน เก็บข้อมูลผู้ป่วยระหว่างเดือนกรกฎาคมถึงเดือนกันยายน 2566 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการพลัดตกหกล้มของผู้ป่วยห้องฉุกเฉินที่พัฒนาขึ้น แบบบันทึกข้อมูลทั่วไปและแบบสอบถามความคิดเห็น ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือโดยผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน ได้ค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ 1.0

ผลการศึกษา พบว่ากลุ่มตัวอย่างผู้ป่วย 329 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศชายร้อยละ 54.7 อายุระหว่าง 18-93 ปี    อายุเฉลี่ย 64.9 ปี (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 16.11) ปัจจัยเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มเกิดจากผลข้างเคียงของยาเสพติดหรือแอลกอฮอล์ ร้อยละ 32.2 และไม่พบอุบัติการณ์การพลัดตกหกล้ม กลุ่มตัวอย่างพยาบาลวิชาชีพ 11 คน      มีความพึงพอใจในภาพรวมต่อแนวปฏิบัติอยู่ระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.18 (ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.87) ดังนั้นควรนำแนวปฏิบัติไปใช้ในการดูแลผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มที่ห้องฉุกเฉินอย่างต่อเนื่อง

References

World Health Organization. Step safely: strategies for preventing and managing falls across the life-course [internet]. 2021[cited 2023 Mar 20]. Available from: https://iris.who.int/bitstream/handle/10665/340962/9789240021914-eng.pdf?sequence=1

ศิริลักษณ์ พันธุหงส์, อรสา อุณหเลขกะ, สุนันทา ยอดสีมา. การวิเคราะห์สังเคราะห์เอกสารย้อนหลังเพื่อป้องกันอุบัติเหตุการพลัดตกหกล้มของผู้ป่วยในโรงพยาบาลจากการมีส่วนร่วมของผู้ป่วยหรือผู้ดูแลในการออกแบบเครื่องหมายความปลอดภัย [อินเทอร์เน็ต]. 2553 [เข้าถึงเมื่อ 20 มีนาคม 2566]. เข้าถึงได้จาก https://www2.si.mahidol.ac.th/division/nursing/sins/Attach-ments/article/66/2553_research_complete_04.pdf

ฟาอิส วาเลาะแต, ศิริพันธุ์ ศิริพันธุ์. แนวทางปฏิบัติการป้องกันการพลัดตกหกล้มของผู้ป่วยสูงอายุในโรงพยาบาล. ว.มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ 2565;14(2):282-296.

The Joint Commission International. Sentinel Event Alert: A complimentary publication of The Joint Commission [internet]. 2015 [cited 2023 Mar 20]. Available from: http://www.jointcommission.org/assets/1/18/SEA_55.pdf

Stuckenschneider T, Koschate J, Dunker E, Reeck N, Hackbarth M, Hellmers S, et al. Sentinel fall presenting to the emergency department (SeFallED) – protocol of a complex study including long-term observation of functional trajectories after a fall, exploration of specific fall risk factors, and patients’ views on falls prevention. BMC Geriatrics 2022;18:22(1).

Schmidt N. Implementing Evidence-Based Fall Reduction Interventions in an Urban Emergency Department [Internet]. 2018 [cited 2023 Mar 24]. Available from: https://scholarworks.gvsu.edu/cgi/viewcontent.cgi?article=1014&context=kcon_projects

Pope B. Feasibility of an emergency department fall screening tool and Feasibility of an emergency department fall screening tool and intervention bundle checklist on nursing fall prevention intervention bundle checklist on nursing fall prevention documentation: a quality improvement project. documentation: a quality improvement project [Internet]. 2022 [cited 2023 Mar 24]. Available from: https://ir.library.louisville.edu/cgi/viewcontent.cgi?article=1043&context=dnp

Strini V, Schiavolin R and Prendin A. Fall Risk Assessment Scales: A Systematic Literature Review [internet]. 2021 [cited 2023 Mar 20]. Available from: https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC8608097/pdf/nursrep-11-00041.pdf

Waszczeniuk C, Harwood E, Catlett M, Keller T. FALL PREVENTION IN THE ED 1 Developing a Multifaceted Fall Prevention Strategy in the Emergency Department [Internet]. 2022 [cited 2023 Mar 20]. Available from: https://lair.lr.edu/server/api/core/bitstreams/78efa083-c495-4d4a-830f-649210e2cce2/content

ฟองคํา ติลกสกุลชัย. การปฏิบัติการพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษ์: หลักการและวิธีปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: พรี-วัน; 2554.

Roever L. PICO: Model for Clinical Ques-tions [internet]. 2018 [cited 2023 Oct 20]. Avail-able from: file:///C:/Users/user/Downloads/2471-9919-3-115.pdf

Melnyk, B.M. and E., Fineout. Evidence-Based practice in Nursing and Healthcare: A guide to best practice. Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkin; 2005.

Montero-Odasso M, van der Velde N, Martin FC, Petrovic M, Tan MP, Ryg J, et al. World guidelines for falls prevention and management for older adults: A global initiative. Age and Ageing [Internet]. 2022 [cited 2023 Mar 21]. Available from: https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC9523684/pdf/afac205.pdf

Morris ME, Webster K, Jones C, Hill AM, Haines T, McPhail S, et al. Interventions to reduce falls in hospitals: a systematic review and meta-analysis. Age and Ageing [Internet]. 2022 [cited 2023 Mar 21]. Available from: https://academic.oup.com/ageing/article/51/5/afac077/6581612

Schoberer D, Breimaier HE, Zuschnegg J, Findling T, Schaffer S, Archan T. Fall prevention in hospitals and nursing homes: Clinical practice guideline. Worldviews on Evidence-Based Nursing. 2022;9:19(2).

Grinspun D. Preventing Falls and Reducing Injury from Falls, Fourth Edition [Internet]. 2017 [cited 2023 Mar 25]. Available from: https://rnao.ca/bpg/guidelines/prevention-falls-and-fall-injuries

Dumbrel K. SESLHD GUIDELINE COVER SHEET NAME OF DOCUMENT Falls prevention and management: A best practice guide for Allied Health Professionals TYPE OF DOCUMENT GUIDELINE [Internet]. 2022 [cited 2023 Mar 25]. Available from:

https://www.seslhd.health.nsw.gov.au/sites/default/files/documents/SESLHDGL%20099%20-%20Falls%20Preven-tion%20and%20

Management%20%20A%20Best%20Practice%20Guide%20for%20Allied%20Health%20Professionals.pdf

Zic W. Translational Nursing Science: Implementation of a Patient Fall Reduction Strategy in the Emergency Department at a Community-Based Medical Center. Open Acc J Bio Sci [Internet]. 2020 [cited 2023 Mar 20]. Available from: https://pdfs.semanticscholar.org/25a3/60e70f75ec0fcf1860a428f1a111f3b854ce.pdf

ชูศรี วงษ์รัตนะ. เทคนิคการใช้สถิติเพื่อการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 10. นนทบุรี: ไทยเนรมิตกิจ; 2550.

Herdman TH, Kamitsuru S and Lopes CT. NANDA International, Inc. Nursing Diagnoses Definitions and Classification [Internet]. 2021 [cited 25 Mar 2023]. Available from: file:///C:/Users/Admin/Downloads/dokumen.pub_nanda-international-nursing-diagnoses-definitions-and-classification-2021-2023-12th-edition-1684204542-9781684204540-9781684204557.pdf

เยาวเรศ ก้านมะลิ. การพัฒนารูปแบบบริการพยาบาลเพื่อป้องกันการพลัดตกหกล้มของผู้ป่วยที่รับรักษาในโรงพยาบาล. ว.กองการพยาบาล 2564;48(1):1-19.

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล. เป้าหมายความปลอดภัยของผู้ป่วยของประเทศไทย [อินเทอร์เน็ต]. 2561 [เข้าถึงเมื่อ 25 มีนาคม 2566]. เข้าถึงได้จาก: http://134.236.247.146:8080/edoc1/uploads/DocNum_20211110172458.pdf

รัตนาพร ทามี, พวงทิพย์ ชัยพิบาลสฤษดิ์, ปานตา อภิรักษ์นภานนท์. ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรรกับการพลัดตกหกล้มของผู้ป่วยในโรงพยาบาลเอกชน. วชิรสารการพยาบาล. 2561; 20(1): 12-26.

ศศิกานต์ หนูเอก, สมใจ พุทธาพิทักษ์ผล, สุรัสวดี เที่ยงวิบูลย์วงศ์. ปัจจัยที่มีผลต่อการพลัดตกหกล้มของผู้ป่วยในโรงพยาบาลศูนย์แห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร. ว.การพยาบาลและการศึกษา 2563;13(3):45-58.

เนตรดา วงศ์ทองมานะ. บทบาทพยาบาล: การป้องกันการพลัดตกหกล้มในผู้ป่วยจิตเวช. ว.พยาบาลสภากาชาดไทย 2558;8(2):49-61.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-31