การพัฒนารูปแบบการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จังหวัดพิจิตร

ผู้แต่ง

  • ปัทมา ผ่องสมบูรณ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพิจิตร

คำสำคัญ:

รูปแบบการป้องกันวัยรุ่นตั้งครรภ์, วัยรุ่นตั้งครรภ์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา(Research& Development) มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาหาสาเหตุและปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหาวัยรุ่นตั้งครรภ์จังหวัดพิจิตร  ดำเนินการวิจัยโดยการสร้างและศึกษาทดลองการใช้รูป แบบของการป้องกันการตั้งครรภ์ของวัยรุ่นจังหวัดพิจิตรกับนักเรียนในสถานศึกษาต่างๆ 3 กลุ่ม ได้แก่ โรงเรียน มัธยมศึกษาตอนปลาย วิทยาลัยระดับอาชีวศึกษา และศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนการศึกษา ประกอบด้วย 4 ระยะ โดยมีรายละเอียดดังนี้ระยะที่1 ศึกษาปัญหาปัจจัยที่เป็นสาเหตุของปัญหาและอุปสรรคการดการ ดำเนินงาน ป้องกันการตั้งครรภ์ของวัยรุ่นจังหวัดพิจิตรโดยการสำรวจข้อมูลเชิงปริมาณ (quantitative data) และเชิงคุณภาพ (qualitative data) ในระยะที่2 นำผลที่ได้ไปกำหนดรูปแบบการป้องกันการตั้งครรภ์ของวัยรุ่นในจังหวัดพิจิตร ในระยะที่ 3 นำรูปแบบที่ได้ไปทดลองใช้กับกลุ่มนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและระดับอาชีวศึกษาจำนวน 46 คน และระยะที่ 4 ประเมินผลการใช้รูปแบบการป้องกันการตั้งครรภ์ของวัยรุ่น จากการศึกษาพบว่าสาเหตุและปัจจัยของปัญหาวัยรุ่นตั้งครรภ์และอุปสรรคในการดำเนินงานการป้องกัน วัยรุ่นตั้งครรภ์ของจังหวัเกิดจากผลกระทบทางลบของสภาพครอบครัวพิจิตรสื่อสังคมแวดล้อมการควบคุมของ สถานศึกษา และตัวของวัยรุ่นเอง รูปแบบการดำเนินการป้องกันการตั้งครรภ์ขอจัหวัดพิจิตรวัยรุ่นเกิดจากความร่วมมือของครอบครัว โรงเรียนและชุมชนซึ่งรูปแบบนี้เป็นการป้องกันผ่านระบบการศึกษาที่เรียกว่าTeenagefocused : Health and Education Approach ซึ่งต้องทำงานเป็นทีมมีความจริงใจในการแก้ปัญหาและเกิดการร่วมแรงร่วมใจของทุก ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 1.Family based เป็นการทำหน้าที่ของครอบครัวให้สมบูรณ์โดยครอบครัวต้องให้เวลาให้ความรัก เอาใจใส่และต่อเนื่องเป็นตัวอย่างที่ดีเป็นที่ปรึกษาในทุกเรื่องมีทักษะในการถ่ายทอดสิ่งที่ดีให้เด็กสอนทักษะ ชีวิตเด็ก สร้างภูมิคุ้นกันชีวิต 2.School based เป็นการทำหน้าที่ในส่วนของโรงเรียนโดยเป็นตัวอย่างที่ดีเสริมทักษะการให้คำปรึกษา คัดกรองกลุ่มเสี่ยงสอนเน้นกลุ่มเสี่ยงนอกเหนือจากในหลักสูตรอบรมดูแลเอาใจใส่ให้ความรักให้เวลาสอนการ สร้างภูมิคุ้มกันชีวิตทักษะชีวิตดูแลสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียนสื่อในโรงเรียนการจัดเวลาว่างนันทนาการไม่ให้ เด็กว่างมากจัดกิจกรรมนักเรียนมีโยบายการจัดการปัญหาเด็กที่ชัดเจนสร้างความร่วมมือกับพยาบาลในการ ค้นหาและป้องกัน 3.Community based เป็นการทำหน้าที่ในส่วนของชุมชนที่เกี่ยวข้องโดยชุมชนต้องมีส่วนในการเอา ใจใส่กวดขันเป็นตัวอย่างที่ดีอบรมดูแลเอาใจใส่ดูแลกฎระเบียบหอพักกฎระเบียบสังคมตามบทบาทหน้าที่ ของตน ทั้งนี้สิ่งที่ต้องพัฒนาวัยรุ่นคือการเพิ่มให้วัยรุ่นมีภูมิคุ้มกันมีทักษะชีวิตสร้างเจตคติเปลี่ยนมุมมองชีวิตค่า นิยมสร้างความตระหนักรักตนเอง รู้คุณค่าในตนเองการไม่เปิดโอกาสการไม่ท ำตามเพื่อนมีความรู้การคุมกำเนิด ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ตั้งใจเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับ การวิจัยและพัฒนาครั้งนี้ใช้วิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบสามารถเป็นแนวทางหนึ่งในการพัฒนาส่วนร่วม รูปแบบการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นโดยผ่านกระบวนการพัฒนาศักยภาพของวัยรุ่นทั้งเทคนิควิชาการและ จิตใจโดยการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการวิจัยและการลงมือปฏิบัติการและการมีภาคีเรียนรู้ช่วยเหลือกันระหว่าง นักเรียนครูและผู้วิจัยซึ่งเป็นนักวิชาการภายนอกเป็นเครื่องมือส ผลของการทำคัญ ำงานไม่เพียงพบแต่รูปแบบ การป้องกันการตั้งครรภ์ในวยงพบความเข้มแข็งยรุ่นการพัฒนาการเรียนรู้ของวัยรุ่นและยังรวมถึงการมีส่วนร่วม ในการพัฒนารูปแบบ อันจะนำไปสู่ความยั่งยืนและต่อยอดขยายผลต่อไป

References

กาญจนี สีห์โสภณ และคณะ. (2533). ภูมิหลังและอัตมโนทัศน์ของมารดาวัยรุ่นและการดูแลตนเองในขณะตั้งครรภ์และแรงสนับสนุนทางสังคมที่มีผลต่อสุขภาพของบุตรแรกเกิด.รายงานการวิจัย คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.

กนกวรรณ อังกะสิทธิ์(2540).. พฤติกรรมสุขภาพและการเห็นคุณค่าของตนเองของคนพิการวิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์.มหาบัณฑิต,มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; หน้า 16.

กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2544). คู่มือการสอนทักษะชีวิตเพื่อป้องกันโรคเอดส์. กรุงเทพ : กรมสุขภา จิตกระทรวงสาธารณสุข.

ชื่นฤทัย กาญจนะจิตรา และคณะ. (2546). สุขภาพคนไทย2546. รายงานการวิจัยสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.

นิภา หะวานนท์. (2529). ปัญหาทางเพศของวัยรุ่นและการท ำแท้ง. การประชุมวิชาการ ผู้หญิงทันสุขภาพหัวข้อเรื่องสร้างองค์ความคิดผู้หญิงกับสุขภาพ13-14มิถุนายน.2539; โรงแรม เอส.ดี.เอนิวกรุงเทพมหานคร: ศูนย์ศึกษานโยบายสาธารณสุขและคณะสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล.

วันเพ็ญ กุลนริศ. (2530). ความสัมพันธ์ระหว่างเจตคติต่อกรตั้งครรภ์ ภาพลักษณ์ สัมพันธภาพของคู่สมรสกั การปรับตัวต่อการเป็นมารดาของหญิงวัยรุ่นในระยะตั้งครรภ์. วท.ม(พยาบาลศาสตร์). มหาวิทยาลัยมหิดล.

ศศิธร มณีแสง. (2538). ความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนทางสังคม การรับรู้เกี่ยวกับประสบการณ์คลอดกับ การปรับตัวของมารดาวัยรุ่น.วท.ม (พยาบาลศาสตร์). มหาวิทยาลัยมหิดล.

ศรีเรือน แก้วกังวาล. (2541). จิตวิทยาพัฒนาการ (พิมพ์ครั้งที่4). กรุงเทพฯ: พิมพ์ดีจำกัด

ศิริกุล อิศรานุรักษ์ และวรรณา เตชวณิชย์พงศ์(2543).. ทบทวนสถานการณ์พฤติกรรมทางเพศของเด็กและเยาวชน อายุ 6-24 ปีที่ก ำลังศึกษา พ.ศ.2532-2542.กรุงเทพมหานคร:เจริญดีการพิมพ์.

สริตา วรรณวงศ์. (2528). การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น. วท.ม (ระบาดวิทยา)., มหาวิทยาลัยมหิดล.

สายฤดี วรกิจโภคาทร. (2529). วัยรุ่นท ำอะไรกันอยู่. ประชากรและการพัฒนา; หน้า 1-7.

สุวชัย อินทรประเสรฐ. (2530). การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ใน ก ำแหง จาตุรจินดา และคณะ (บรรณาธิการ). สูติศา รามาธิบดี. (หน้า 513-512) กรุงเทพ:โอ เอส พริ้นติ้งเฮาส์.

สุธีรัตน์ แก้วประโลม .(2538). ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองการสนับสนุนทางด้านสังคมกับ พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานสูงอายุ.โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์; หน้า 18-1

เสาวรส มีกุศล. (2543). พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพของวัยรุ่น. วารสารพยาบาลศาสตร์,18(11), 14-24.

Balding, J. (2003). Young people in 2002. Exeter: Schools Health Education Unit,University of Exeter.

Bandura, A. (1997). Self-efficacy: The exercise of control. New York: W.H.Freeman.

BMRB International. (2001). Evaluation of the Teenage Pregnancy Strategy. Tracking survey. Report of results of benchmark wave. January 2001. Retrieved on Feb20, 2007 from http:// www.teenagepregnancyunit.gov.uk

BMRB International (2003). Evaluation of the Teenage Pregnancy Strategy. Tracking survey. Report of results of nine waves of research. October 2003. London: BMRB International.

Bobak, I. M. & Jensen, M.D. (1997). Essentials of maternity nursing : the nurse and the childbearing family. (2nd ed.) St.Louise:C.V.Mosby.

Botting, B., Rosato, M. and Wood, R. (1998).Teenage mothers and the health of their children. Population Trends 93 :19-28.

Brook (1998). “Someone with a smile would be your best bet…” What young people want from sex advice services. London: Brook Advisory Centers.Retrieved on Feb 20, 2007 from http://www.teenagepregnancyunit.gov.uk

Churchill, D. (2000). Consultation patterns and provision of contraception in general practice before teenage pregnancy: case control study. British Medical Journal 321: 486-9.

Coren, E. and Barow, J. (2004). Individual and group-based parenting programmers for improving psychosocial outcomes for teenage parents and their children. Cohrane Library, Issue 1. Chichester, UK: John Wiley & Sons.

Darroch, J. and Singh, S. (1999). Why is teenage pregnancy declining? The roles of abstinence, sexual activity and contraception use. Occasional Report No.1. New York: Allan Guttmacher Institute. Retrieved on Feb20,2007 from http:// www.agi-usa.org/pubs/or_teen_peg_decline.html

Dicenso, A., et al. (2002). Interventions to reduce unintended pregnancies among adolescents: systematic review of randomised controlled trials. British Medical Journal 324 (7531): 1426.

Emler, N. (2001). Self-esteem: the costs and causes of low self-worth. York: Joseph Rowntree Foundation. Retrieved on Feb20,2007 from http://www.jrf.org.uk/knowledge/findings/ socialpolicy/pdf/N71.pdf

Ermisch, J. and Pevalin, D. (2003). Who has a child as a teenager? ISER working paper 2003-30. Colchester: Institute for Social and Economic Research, University of Essex. Retrieved on Feb 20, 2007 from http:/www.iser.essex.ac.uk/pubs/workpaps/pdf/2003-30.pdf

Gibson, C. H. (1993). A study of empowerment in mother of chronically ill children. Unplublished doctoral Dissertation,Boston college, Boston.

Hall, WA. (1994). Adolescent childbearing and parenting IN.KA. May & L.R.Mahlmeister (Eds.). Maternal &Neonatal Nursing: Family-center Care.(3rd ed) (pp.197-216).Philadelphia : J.B.Lippincott comp. Holt, J. L. & Johnson, S. D. (1991). Developmental task : A key to reducing teenage Pregnancy. Journal of Pediatric Nursing, 6(3),191-196.

Ingham, R., Clements, S. and Gillibrand, R. (2001). Factors affecting changes in rate of teenage conceptions 1991 to 1997. London: Teenage Pregnancy Unit. Retrieved on Feb20, 2007 from http://www.teenagepregnancyunit.gov.uk

Jemmott, L.S., & Jemmott III, J.B. (1991). Applying the the theory of reasoned action to AIDS risk behavior: Condom use among black women. Nursing Research.40(1),228-234.

Kiernan, K. (1995). Transition to parenthood: young mothers, young fathers-associated factors and later life experiences. LSE Discussion Paper WSP/113. London: London school of Economics.

Kirby, D. (2001). Emerging answers: research finding on programs to reduce unwanted Teenage pregnancy. Washington, DC, USA: National Campaign to Prevent Teen

Pregnancy. Retrieved on Feb20,2007 from h t t p : / / w w w . t e e n p r e g n a n c y . o r g / s t o r e / i t e m . asp?productld=128

Ladewig, P.W., London,M.L.,& Olds, S.B.(1994). Essentials of maternal-Newborn Nursing. (3th ed). California : Cummings Publishing.

Mandleco, B. L., & McCoy, J.K. (2000).Growth and development of the adolescent.N.L. Potts & B.L.Mandleco (Eds.) Pediatric nursing (pp.305-347). Albany,NY: Delmar.

Neinstein, L. S. (1992).Adolescent health planning care : A practical guide.(2nd.).Baltimore ; William & Wilkins.

ONS (2003). Contraception and sexual health, 2002. National statistics. London: Office of National statistics: Retrieved on March 20,2007 from http://www.statistics.gov.uk/downloads/theme_ health/Contracepts2002.pdf

Poulin , C., & Graham, L.(2001) The association between substance use, unplanned sexual intercourse and other sexual behaviors among adolescent study. Addiction,96,607-621

Steinberg, L. (1999). Adolescence.(5 th ed.). New York: McGraw-Hill.

Stone, N. and Ingham, R. (2002). Factors affecting British teenagers’ contraceptive use at first intercourse: the importance of partner communication. Perspectives on Sexual and Reproductive Health 34 (4): 191-7.

Stone, N. and Ingham, R. (2003). When and why do young people in the United Kingdom first use sexual health services? Perspectives on Sexual and Reproductive Health 35 (3): 114-20.

Swann, C., Bowe, K., McCormick, G. and Kosmin, M. (2003). Teenage pregnancy and parenthood: a review of reviews. Evidence briefing. London: Health Development Agency. Retrieved on Feb20,2007 from http:// www.hda.nhs.uk/evidence

Swann, C., et al.( (2003). Evidence-based briefing paper on teenage pregnancy and parenthood. London: Health Development Agency. Retrieved on Feb20,2007 from http://www.hda.nhs.uk/ evidence

Wight, D.,et al. (2002). The limits of teacher-delivered sex education: interim behavioral Outcomes from a randomized trial. British Medical Journal 324: 1430

Stone, N. and Ingham, R. (2002).Factors affecting British teenagers’ contraceptive use at first intercourse: the importance of partner communication. Perspectives on Sexual and Reproductive Health 34 (4): 191-7.

Whaley, A. L. (1999).Preventing the high-risk sexual behavior of adolescents: focus on HIV/AIDS transmission, unintended pregnancy, or both?.

World Health Organization. (WHO). (1999). WHO technical report series 886: programming for adolescent health and development. Geneva, Switzerland: Division of mental health.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-01-30

ฉบับ

บท

บทความวิชาการทั่วไป