ยุทธศาสตร์และมาตรการการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคชิคุนกุนยาและบทเรียนการป้องกันควบคุมโรคชิคุนกุนยาในภาคใต้
บทคัดย่อ
โรคไข้ปวดข้อยุงลาย เป็นโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ ที่ไม่พบรายงานในประเทศไทยมาประมาณ 10 ปี เกิดจากเชื้อไวรัสชิคุนกุนยา มียุงลายบ้านและยุงลายสวน เป็นพาหะนำโรค ผู้ป่วยที่ได้รับเชื้อ จะมีไข้สูง มีผื่นแดงตามร่างกายและมีอาการข้ออักเสบ ปวดข้อ อาการปวดข้อ อาจพบนานเป็นเดือนหรือเป็นปี โดยภาคใต้พบมีรายงานการระบาดในภาคใต้ตอนล่าง ครั้งแรกเดือนกันยายน 2551 และแพร่กระจายไปในจังหวัดนราธิวาส ต่อมาการระบาดขยายวงกว้างมายังจังหวัดภาคใต้ตอนล่าง และภาคใต้ตอนบน
References
ลักขณา ไทยเครือ ไข้ออกผื่นปวดข้อ เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องไข้ออกผื่นปวดข้อ. กรุงเทพฯ กองระบาดวิทยา.2539.
กสิน ศุภปฐม , เอื้อมเดือน กึ่งชาญศิลป์และพูนยศ เรี่ยวแรงบุญญา ประสิทธิภาพการจับและฆ่ายุงรำคาญของสารซักล้าง. วารสารกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์. 2547. (3) : 253 – 259.
วิรัช วงศ์หิรัญรัชต์ และคณะ การวางไข่ของยุงลายสวน (Aedes albopictus) เอกสารประกอบการประชุมประเมินสถานการณ์โรคชิคุนกุนยาภาคใต้ เอกสารอัดสำเนา 2552.
วิรัช วงศ์หิรัญรัชต์ ชูศักดิ์ โมลิโต และโสภาวดี มูล เมฆ. การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของการพ่นหมอกควัน และพ่นฝอยละอองติดรถยนต์ ในการควบคุมยุงลายบ้าน Aedes aegypti Linnaeus (1762) ในเขตเทศบาลนครสงขลา. สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา,สงขลา. 2552, 23หน้า.
Ramful D, Carbonnier M, Pasquet M, Bouhmani B, Ghazouani J, Noormahomed T et al. Mother to-child transmission of Chikungunya virus infection. Pediatr Infect Dis J.2007 Sep;26(9):811-5
Valamparampil J, Chirakkarot S, Letha S, et al. Clinical profile of Chikungunya in infants. Indian Journal of Pediatrics. 2009 Feb; (76): 151-155.
Tham mapalo S, Thaikruea L, Prikchoo P, et al. Factors contributing to rapid spreading of chikungunya epidemic in Thailand 2008-2009. Technical Consultation On the Re-emergence of Chikungunya fever; 26 – 28 August 2009; Graceland, Phuket Thailand.
สุวิช ธรรมปาโล ปฐมพร พริกชู และชูศักดิ์ โมลิโตการรับรู้และพฤติกรรมการป้องกันตัวจากไข้ชิคุนกุนยา เอกสารประกอบการประชุมประเมินสถานการณ์โรคชิคุนกุนยาภาคใต้ เอกสารอัดสำเนา 2552.
Gubler. D. J. 1971. Ecology of Aedes alhopictus. The Johns Hopkins University ICMRT Animal Report: 75-80.
Wonghiranrat W, Moonmek S, Wasinee S. The survey of Aedes albopictus bleeding sources in the urban and rural areas. Technical Consultation On the Re-emergence of Chikungunya fever; 26 – 28 August 2009; Graceland, Phuket Thailand.
Liew, C. and C. F. Curtis. 2004. Horizontal and vertical dispersal of dengue vector mosquitoes, Aedes aegypi and Aedes albopictus , in Singapore. Med. Vet. Entomol. 18: 351 – 360
Mathien D, Laurence M, Sara M ,et al. Chikungunya virus and Aedes mosquitoes : saliva is infectious as soon as two days after oral infection.PLoSONE 4(6):e5895
BuaThong R. Surveillance system of Chikungunya in Thailand.Technical Consultation On the Reemergence of Chikungunya fever; 26 – 28 August 2009; Graceland, Phuket Thailand.
Scott TW, Amerasighe PH, Morrison AC, Lorenz LH, Clack GG et al.(2000) Longitudinal studies of Aedes aegypti (Diptera: Culicidae) in Thailand and Puerto Rico: blood feeding frequency. J MedEntomol 37:89-101
รจนา วัฒนรังสรรค์,วรสิทธิ์ ศรศรีวิชีย,สุวิช ธรรมปาโล, สรรพงษ์ ฤทธิรักษา, สุวัฒน์ วิริยพงษ์สุกิจ และคนอื่น ๆ. การศึกษาการระบาดของโรคชิคุนกุนยา อำเภอเทพาและอำเภอ จะนะ จังหวัดสงขลา เดือนมีนาคม-เมษายน 2552.รายงานการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาประจำสัปดาห์ (กำลังพิมพ์)
Wonghiranrat W, Moonmek S, Wasinee S. Using impregnated shirt with Bifenthrin 2% EC to protect mosquito biting in the rubber plantation. Technical Consultation On the
Re-emergence of Chikungunya fever; 26 – 28 August 2009; Graceland, Phuket Thailand. Edelman R et al. Phase II safety and immunogenicity study of live chikungunya virus vaccine TSI-GSD-218. Am J Trop Med Hyg 2000; 62: 681–85.