พฤติกรรมและการรับรู้เกี่ยวกับเขตปลอดบุหรี่ในสถานีขนส่งและสวนสาธารณะของประชาชนในเขตเทฯบาลนครเชียงใหม่

ผู้แต่ง

  • สุเนตรา นิมานัท สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่

คำสำคัญ:

เขตปลอดบุหรี่พฤติกรรมการสูบบุหรี่การรับรู้

บทคัดย่อ

         การศึกษานี้มีวัตประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมและการรับรู้เกี่ยวกับเขตปลอดบุหรี่ของประชาชนผู้ใช้บริการ สถานีนส่งและส่วนสาธารณะในเขตเทศบาลนครเชียงให่ โดยวิเคราะห์ถึงระดับประสิทธิผลของการดำเนินการเขตปลอดบุหรี่ และศึกษาปัญหาของการดำเนินการเขตปลอดบุหรี่ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 18 พ.ศ. 2550 รูปแบบการศึกษาเชิงพรรณนา วิธีการศึกษาโดยการสำรวจ ด้วยแบบสอบถาม ตัวอย่างเลือกโดยวิธีกแบบเจาะจง จำนวน 400 ราย แยกเป็นประชาชน ผู้ใช้บริการในสถานีขนส่ง จำนวน 200 ราย และผู้ใช้บริการส่วนสาธารณะ จำนวน 200 ราย วิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติ ค่าร้อยละ

     ผลการศึกษาพบว่า 1) พฤติกรรมของประชาชาชนผุ้ใช้บริการในสถานีขนส่ง สวนสาธารณุ จำวนวน 200 ราย วิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติ ค่าร้อยละ 69.5 และ 51.0 ตามลำดับ โดยได้รับความรู้เกี่ยวกับการห้ามสูบบุหรี่ในที่สาธารณะ จากสื่อวิทยุ โทรทัศน์ เอกสารต่างๆ อินเตอร์เน็ตคิดเป็นร้อยละ 48.2 แล่ะ 46.6 ตมลำดับ และเห็นว่าการกำหนดให้สวนสาธารณะและสถานีชนส่งเป็นเขตปลอดบุหรี่ตามกฏหมายมีประโยชน์เพราะส่วนใหญ่จะคำนึงถึงสุขภาพของตนเอและคนรอบข้าง 2ป ประชาชนผู้ใช้บริการในสถานีชนส่งและสวนสาธารรรุเคยพบเห็นป้ายหรือสัญลักษณ์ “เขตปลอดบุหรี่” หรือ “ห้ามสูบบุหรี่” บริเวณด้านหน้าอย่างชัดเจน ร้อยละ 80 และ 76.5 ตามลำดับ 3)การดำเนินการตาม  พ.ร.บ.ส้วนใหญ่มีเห้าหมายในการแนะนำให้ทราบข้อกฏหมายกมากกว่าการตรจบังคับใช้กฏหมาย

     ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการกำหนดเขตปลอดบุหรี่ ควรประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมาย ผู้ดำเนินการในส่วนที่สาธารณสุช ได้รับรู้และปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฏหมายว่าด้วยการควบคุมการบริโภคยาสูบ  โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางสื่อมวลชนวิทยุและโทรทัศน์และควรมีกลไกให้ผู้ดำเนินการในสถานที่สาธารณะมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังไม่ให้มีการฝ่าฝืนสูบบุหรี่ในสถานที่ที่กำหนดเป็นเขตลตบุรีมีให้ฝ่าฝืนสูบบุหรี่ในบริเวณที่กำหนดเป็นเขตปลอดบุหรี่

References

อมรรัตน์โพธิพักและคณะ แนวทางทางควบคุมและกำกับการระบาดของยาสูบกรุงเทพศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.) 2550

สมเกียรติ วัฒนศิริชัยกุล. ตำราวิชาการสุขภาพการควบคุมการบริโภคยาสูบ. กรุงเทพ. เครือข่ายวิชาชีพสุขภาพเพื่อสังคมไทยปลอดบุหรี่. 2550

นิ่มนวล พรายน้ำและเดชา เจริญมิตร. การสำรวจการรับรู้ความพึงพอใจต่อเพราะระบอคุ้มครองผู้ไม่สูบบุหรี่พ.ศ. 2535 ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับที่ 10 / 2545 ในเขตเทศบาลนครราชสีมา. สำนักงานประกันของผมโรคที่5 นครราชสีมา. 2546

บุปผา ศิริรัศมีและคณะ , Evaluation of the thai tobacco Policy Asian Pacific Population do you know 2008.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-04

ฉบับ

บท

บทความวิชาการทั่วไป