สถานการณ์แนวโน้มการบาดเจ็บ เสียชีวงิตและปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดอุบัตเหตุขนส่งจังหวัดเชียงใหมใ พ.ศ. 2549-2551

ผู้แต่ง

  • กลิ่นสุคนธ์ จิวนารมณ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่

คำสำคัญ:

การบาดเจ็บ, อุบัติเหตุ

บทคัดย่อ

         การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์แนวโน้มการบาดเจ็บเสียชีวิตและปัจจัยเสียงของขนส่งจังหวัดเชียงใหม่โดยวิเคราะห์ข้อมูลการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากระบบเฝ้าระวังการบาดเจ็บของโรงพยาบาลชุมชนทุกแห่งในจังหวัดเชียงใหม่ซึ่งอยู่ในเขตรอบปริมณฑลและเขตชนบทจากรายงานประจำเดือนในช่วงปีพ.ศ. 2549 ถึง 2551 มีผู้บาดเจ็บทั้งสิ้นจำนวน 48,543 ราย ผลการศึกษาพบว่าเหตุจากการขนส่งเป็นสาเหตุอันดับหนึ่งของการบาดเจ็บเป็นร้อยละ 32.19 และมีแนวโน้มการบาดเจ็บและเสียชีวิตลงสัดส่วนชายหญิง = 2.2 ต่อหนึ่งส่วนใหญ่ร้อยละ 42.14 อยู่ในช่วงอายุ 15 ถึง 29 ปี (SD=16.66 Medium=27) มีอาชีพรับจ้างร้อยละ 42.3 24.11 รถจักรยานยนต์เป็นเนื้อที่ทำให้เกิดการบาดเจ็บสูงสุดร้อยละ 87.72 ผู้ใช้รถจักรยานยนต์ไม่สวมหมวกกันนิรภัยมีสูงถึงร้อยละ 96.02 การดื่มแอลกอฮอล์ของผู้ใช้ยวดยานเฉลี่ยร้อยละ 40.60 พบว่าผู้ขับขี่รถยนต์ไหมครับครับ 79.7 มิยเวลาเกิดระหว่าง 16.00 ถึง 14.00 น. ร้อยละ 32.02 ถึง 54.3 ปฏิเหตุหยุดในวันเสาร์และทิศมากที่สุดร้อยละ 16.0 ช่วงเย็นเมษายนซึ่งเป็นช่วงเทศกาลร้านมีการบาดเจ็บมากที่สุดร้อยละ 10.61 แต่การเสียชีวิตสูงสุดในช่วงเทศกาลปีใหม่ร้อยละ 11 . 10 และการนำส่งผู้บาดเจ็บ 5.8 การนำส่งโดยบริการการแพทย์ฉุกเฉินร้อยละ 14.5 รผลการศึกษาชี้เห็นว่าเป็นปัญหาชินโซทุกส่วนชลบุรีกันด้วยยุทธศาสตร์หน้าด้านอย่างตอนไม่เฉพาะช่วงเทศกาลสำคัญเท่านั้นแต่ควรดำเนินการในช่วงด้วยเช่นกันวันนี้นึกกลุ่มเยาวชนและวัยแรงงานเข้มงวดตามมาตรการ ม.3 ช.1ร การให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินที่ที่ครอบคลุมสนับสนุนต้องจัดมีส่วนร่วมวันจันทร์น่ะ. สำนึกสาธารณะซึ่งน่าจะส่งผลให้เกิดเปลี่ยนพฤติกรรมที่ปลอดภัยในอนาคตและสามารถลดอัตราต่ำสุดบัตรเหตุลงได้ในที่สุด

References

กลิ่นสุคนธ์ จิวนารมณ์ กลุ่มงานบริการสาธารณสุขสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่. สรุปสถานการณ์การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุต่างๆ และจากอุบัติเหตุขนส่งจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2550ม รายงานสถานการณ์การบดเจ็บจังหวัดเชียงใหม่การเฝ้าระวังระบาดวิทยาฉบับที่ 2/2552.2551:1

ศูนย์ข้อมูลโรคไม่ติดต่อ สำนักงโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขรายงานผลการสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ พ.ศ. 2548. ใน: กันต์เชิญรุ่งโรค, บรรณาธิการ.พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: สำนักกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ ทหารผ่านศึกในพระบรมราชุปถัมภ์: กรกฏาคม 2549:253-259.

ปนัดดาชำนาญสุข คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. มอเตอร์ไซด์กับโลกของวัยรุ่น. ใน: คณะทำงานสนับสนุนการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหา อุบัติเหตุทางถนนจังหวัดนำร่อง (สอจร.). ตำนานเรื่องอุบัติเหตุจากรถจักรยานยนต์ 2550:54.

แสงโสม เกิดคล้ายและคณะ สำนักระบาด กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. สถานากรณ์แนวโน้มการบาดเจ็ดเสี่ยชีวิตจากอุบัติเหตุขนส่งประเทศไทย ปี พ.ศ. 2541-2550. ตุลาคม 2551: 12. กลิ่นสุคลธ์ จิวนารมณ์ กลุ่มงานบริการสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่. ลักษณะทางระบาดวิทยาการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุจราจรช่วงเทศกาลสงกรานต์ 2551. สรุปสถานการณ์การเกิดอุบัติเหตุจราจรช่วงเทศกาลสงกรานต์ 2551 จังหวัดเชียงใหม่ . เมษายน 2551:

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-04

ฉบับ

บท

บทความวิชาการทั่วไป