ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนชั้นมันธยมศึกษาและอาชีวศึกษาในจังหวัดลำพูนปี 2008

ผู้แต่ง

  • อรพินธ์ ใจสุนทร สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำพูน

คำสำคัญ:

พฤติกรรมสุขภาพ, ปัจจัยด้านบุคคล, คอมพิวเตอร์มือถือ, จังหวัดลำพูน

บทคัดย่อ

          การศึกษามีวัติถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมสุขภาพและปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 และนักเรียนอาชีวศึกษาชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่สองจังหวัดลำพูนจำนวน 1,863 คนที่ผ่านการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สัดส่วนให้ตอบแบบสอบถามด้วยตัวเองโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์มือถือหรือปาร์ม รุ้น Zire 21 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพนันนาทดสอบความสัมพันธ์ใช้ใครสแควร์วันการศึกษาพบว่าปัจจัยด้านเพศและฉันเรียนมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มตัวอย่างที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 โดยที่เพศชายมีการใช้สารเสพติดการสูบบุหรี่และดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์มากกว่าเพชรหญิง (p< 000) = ร้อยละ 11.7 , 18.7, 58.8 และ 2.4, 3.0, 41.4 ตามลำดับเพื่อนหญิงกันป้องกันอุบัติเหตุน้อยกว่าเพศชายโดยที่มีการสมหมวกกันนอกนะครับ-รถจักรยานยนต์เพียงร้อยละ 4.0 และ 9.4 แตกก่อนครับเค 1 ชั่วโมงเพื่อชายดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์มากกว่าเพชรหญิง = ร้อยละ 19.8 และ 8.4 ตามลำดับดังนั้นรีบบริโภคอาหารภาควิชาในปากหญิงมีสัดส่วนการกินผักและผลไม้สดทุกวันในรอบสัปดาห์ใกล้เคียงกันแต่ในเพศหญิงจะรับประทานขนมหวานทุกวันมากกว่าเพศชาย( <0.000) เพศชายออกกำลังกายต่อสัปดาห์ร้อยละ 84.5 โดยที่เพศหญิงร้อยละ 32.7 ไม่ออกกำลังกายเลยเมื่อวิเคราะห์ปัจจัยด้านฉันเรียนพบว่านักเรียนอาชีวศึกษามีประสบการณ์เคยใช้สารเสพติดการสูบบุหรี่การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์สูงกว่านักเรียนมัธยมศึกษาได้มีพฤติกรรมสุขภาพร่างกายป้องกันอุบัติเหตุน้อยกว่านักเรียนพยมศึกษาสำหรับพฤติกรรมด้านการพี่พงสัดส่วนการกินผักผลไม้สดใกล้เคียงกันความถึงการกินขนมอบกรอบและอาหารจานด่วนด้วยนอกจากนี้ยังพบว่านักเรียนอาชีวศึกษาไม่มีการออกกำลังกายในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมาสูงถึงร้อยละ 35.1 ในขณะที่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่สองสูงที่สุด = ร้อยละ 47.6 ซึ่งความแตกต่างของปัจจัยดังกล่าวสามารถนำมาใช้เป็นแนวทางเพื่อกำหนดมาตรการป้องกันปัญหาด้านสุขภาพและการส่งเสริมสุขภาพหรือเฉพาะพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคเรือรางในกลุ่มนักเรียนหรือให้เหมาะสมต่อสภาวะปัจจุบันต่อไป

References

สำนักโรคไม่ติดตอ กรควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. การศึกษาทบทวนสถานการณ์และโคงสร้างพื้นฐานของเครือข่ายท่เกี่ยวข้องกับการลดความเสียงต่อการบาดเจ็บในเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2549. กรุถงเทพฯซ สำนักพิมพ์ บริษัท สุขุมวิทมีเดีย มาร์เก็ตติ้ง จำกัด; 2551. 36-37.

อนันต์ ตัณมุขยกุล. รายงานอุบัติเหตุจากสำนักระบาดวิทยากรมควบคุมโรค. วารสารอุบัติเหตุ. 231), 2547:54-55.

ชุลีพร ศรศรี. การศึกษาพฤติกรรมสียงต่อสุขภาพของวัยรุ่นในโรงเรียนมัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ พยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต . บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชีงใหม่ : 2539: 9-11, 87, 91-92, 102.

นุกูล ตะบูนพงศ์และคณะ. การรับรู้ภาวะสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของนักศึกษา มหาวิทยาลัเยสงขลานครินทร์. สงขลานครินทร์สาร, 12(กรกฏาคม-กันยายน), 2537: 117-126.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-04

ฉบับ

บท

บทความวิชาการทั่วไป