การสนับสนุนสังคมและพฤติกรรมการดูและสุขภาพองผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง

ผู้แต่ง

  • อัมพวัน ศรีครุฑรานันท์ โรงพยาบาลพญาเม็งราย จังหวัดเชียงราย

คำสำคัญ:

Social Support, Health Care Behaviors, COPD

บทคัดย่อ

          การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประงค์เพื่อฯกษาความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนทางสังคมกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยโคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ที่มารับการบริการที่โรงพยาบาลพญาเม็งรายจังหวัดเชียงราย จำนวน 130 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล กแบบสอบถามการรสนับสนุนทางสังคมและแบบสอบถภามพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยโรคปอดอุดกี้นเรื้อรัง กรวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณาโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและหาความสัมพันธ์โดยใช้สถิติสหสัมพัตนธ์แบบเพียร์สัน

          ผลการศึกษาพบว่า การสนับสนุนทางสังคมอยู่ในระดับน้อย (x̄ =39.72, SD = 10.21).   พฤติกรรมการดูแลสุขภาพอยู่ในระดับน้อย  (x̄ =34.99, SD = 5.98).  และการสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสิถิติ (r =.567} p<.001) ผลการศึกษาครั้งนี้สามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับบุคลากรด้านสุขภาพในการกำหนดแนวทางโดยส่งเสริมให้มีการสนับสนุนทางสังคม เพื่อให้ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพให้เหมาะสมต่อไป

References

National Heart, Lung, and Blood Institute Fact Book. Statistics about obstructive Pulmonary. (seral online)2007 (cited 2008 November 8). Available from URL: htto://www.nhlbi.nith.gov/health/public/lung/other-copd_fact.pdf.

กระทรวงสาธารณสุข.สถิติกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2550. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์องค์กดารทหารผ่านศึก; 2550.

งานเวชระเบียน โรงพยาบาลเม็งราย. สถิติผู้ป่วยประจำปี 2551.โรงพยาบาลพญาเม็งราย; 2551.

Leupoldt A. Dahme B. Psychological aspect in the perception of dyspnea in obstructive pulmonary disease. Respiratory Medicine: 2007; 101:411-412.

Schlecht NF, Schwartzman K, Bourbeau J. Dyspnea as a clinical indicator in patients with chronic obstructive pulmonary disease. Chronic Respiration Disease, 2005; 2(4); 183-191.

Tipe BL. Review: Disease management of COPD with pulmonary rehabilitation. Chhest; 1997; 112;1630-1656.

Mohta M, Sethi, AK,Tyagi, A, Mohha, A.(2003). Psychological care in trauma patients. Journal of jnjured;2003;34(1):17-25

Elkingtion H, White P, Addington-Hall J, Higgs R, Pettiinari C. the last year of life of COPD: A qualitative study of r symptom and services. Respiratory Medicine; 2004;98(5):439-445.

Barnett M. Chronic obstructive pulmonary discase: A phenomenological study of patients, experiences. Journal of Clinicsl Nuresiing: 2005; 27(2):67-73.

Schaefer C, Coyne JC, Lazarus Rs. The health-ralate function of social support. Journal of Behavioral Medicine; 1987 4(4): 381-406.

O Neill E. IIIness representations and coping of women with chronic obstructive pulmonary disease : A pilot study. Heart & Lung; 2002;31:294-302.

อัมพรพรรณ ธีรานุตร, วัชร บุญสวัสดิ์, สุวรรณา บุญยะลีพรรณ, เจียมจิต แสงสุวรรณ, วลัยพร นันท์ศุภวัฒน์, อุไรวรรณ แซ่อุย, รางานวิจัยเรื่องการพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความสามารถในการดูแลตนเองในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง, กรุงเทพมหานคร: สำนักพัฒนาวิชาการแพทย์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข; 2539

Wigal JK, Creer TL, Kotses H. the COPD self-efficacy scale. Chest: 1991; 99:1193-1196.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-04

ฉบับ

บท

บทความวิชาการทั่วไป