การเดิดภาวะขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิดโรงพยาบาลสันทราย

ผู้แต่ง

  • สุรศักดิ์ เหล่าพาณิชย์กุล โรงพยาบาลสันทราย จังหวัดเชียงใหม่

คำสำคัญ:

: ภาวะขาดออกซิเจนนทารกแรกเกิด, ความเสี่ยงมารดา, ทารกในภรรภ์ขณะการคลอด

บทคัดย่อ

               การศึกษานี้เป็นการศึกษาที่เชิงพรรณนาย้อนหลัง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอัตราเกิดภาวะขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิดและวิเคราะห์สาเหตุของการเกิดภาวะขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิดของโรงพยาบาลสันทรายโดยทำการศึกษาในมารดาที่มาคลอดบุตร ในโรงพยาบาลสันทรายระหว่างเดือนมกราคมถึง 31 ธันวาคม 2551 และทารกแรกเกิดได้รับการวินิจฉัยว่าเกิดภาวะขาดออกซิเจนผลการศึกษาพบว่าทารกที่มีภาวะขาดออกซิเจนมีจำนวน 17 รายจากทารกแรกเกิดทั้งหมดจำนวน 282 รายคิดตาการเกิดภาวะขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิด 60.28 ต่อ 1000 ประชากรการเกิดมีชีพโดยจำแนกออกเป็นข้อมูลพื้นฐานของมันดาส่วนใหญ่อายุ37 ถึง 41 สัปดาห์หน้าจะสีฟ้าคัน -4 ครั้งตามเกณฑ์ร้อยละ 70 มีสิทธิ์หลักประกันสุขภาพร้อยละ 53 จากการศึกษาสาเหตุพบว่าสาเหตุด้านมารดามี 17 สาเหตุส่วนใหญ่เป็นโรคโลหิตจางร้อยละ 59 โรคธารัสซีเมียร้อยละ 24 สาเหตุด้านการคลอด 24 สาเหตุเป็นภาวะน้ำเดินก่อนการคลอดร้อยละ 24 การคลอดระยะที่สองยาวนานมานะไม่มีแรงเบ่งและการคลอดติดไหล่เท่ากันที่ร้อยละ 18 สาเหตุด้านทารกแรกเกิดมี 18 สาเหตุส่วนใหญ่มีน้ำหนักตัวแรกเกิด 2500 ถึง 3500 กรัมร้อยละ 70 เป็นเพศชายร้อยละ 65 ภาวะสายสะดือ 1000 คอร้อยละ 41 ภาวะ fetal distress ร้อยละ 35 ภาว่ามีขี้เทาในน้ำคล่ำร้อยละ 24 ซึ่งการดูแลตั้งแต่มันอยากฝากครรภ์ที่มีคุณภาพการเฝ้าระวังความเสี่ยงของมารดาและทารกในครรภ์การคลอดและความพร้อมของทีมบุคลากรในการช่วยฟื้นคืนชีพภาพหรือรูปแรกเกิดรวมทั้งภาวะแทรกซ้อนและการตายในทารกแรกเกิดได้

References

1. เยื้อน ตันนิรันดร. ภาวะแอสฟิกเซียใรระยะเจ็บครรภ์คลอดและเมือแรกเกิด, ใน: นฤศร สุขเจริญ, บรรณาธิการเวชศาสตร์รร่วมสมัย 2548. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร ภาพพิมพ์; 2548. หน้า 93-4.

2. สุนทร ฮ้อเผ่าพันธุ่. Defining the scope of perinatal asphyxia. ใน : สุทรฮ้อเผ่าพันธุ์. บรรณาธิการ . neonatology 2007, กรุงเทพมหานคร: ธนาเพรส จำกัด; 2550. หน้า 76-97

3. Apgar V, A proposal for a new method of evaluation of the newborn infant. Anes Analog 1953;32:260.

4. Drage JJ, kennedy C, Schwarz BK. The Agpar score as index of neonatal mortality” A report from collaborative study of cerebral palsy, Obstet Gynecol 1964;222-30.

5. Behman RE, Kleigman RM, jenson HB. Nelson Textbook of Pediarics. 17th ed. Philadelphia: Saunders 2004;570.

6. วัลลภ ไทยเหนือ. ภาวะขาดออกซิเจนของทารกแรกเกิด (Perinatal asphyxia) ความหวังของการพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก. การประชุมวิชาการประจำปี พ.ศ. 2538 สมาคมเวชศาสตร์ปริกำเนิดแห่งประเทศไทย วันที่16-17 พฤศจิกายน พ.ศ 2538 โรงแรมรึเจ้นท์ ชะอำเ จ.เพชรบุรี

7. สำนักส่งเสริมสุขภาพ. ข้อเสนอแนะการดูแลท่างสติกรรมและกุมารเวชกรรมเพื่อป้องกันและรักษาภวะขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิด. พิมพ์ครั้งที่ 3 .กรุงเทพมหานคร โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์: 2542. หน้า 1-26

8. ฐิติพร สิริวชิรชัย. อรวรรณ รุจิรกุล, จันทรา โคตรชุม. การเกิดภาวะขาดออกซิเจนของทารกแรกเกิดในโรงพยาบาลขอนแก่น. วารสารส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแดวล้อม 2543: 23(4) : 75-81.

9. อรสา รัชตพันธตากร. ภัทราวรรณ ทองคำชุม. ยุพดีชัย สุขสันต์. Factors associated with birth asphyxia in Pathani Hospital” Thailand” สงขลานครินทรเวชสาร 2548;23(1):17-27

10. วรางคณา แก้วพรหม. ภาวะขาดออกซเจนในทารกแรกเกิด โรงพยาบาลสรรพสิทธิ์ประสงค์. วารสารการแพทย์โรงพยาบาลอุดรธานี 2550: 15(1):65-75

11. บรรพจน์ สุวรรณชาติ. ปัจจัยเสี่ยงองการเกิดภาวะขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิดในโรงพยาบาลกาฬสินธุ์. ศรีนครินทร์เวชสาร 2547;19(4): 233-40.

12. ประภาภรณ์ เพชรมาก. ปัจจัยเสี่ยงต่อภาวะขาดออกซิเจนของทารกแรกเกิด โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดช อุดม จังหวัดอุบราชธานี วารสารส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม 2549; 29(4):98-112.

13. สาธิต คุณประดิษฐ์. สาเหตุและแนวทางในการแก้ไขปัญหาภาวะขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิดโรงพยาบาลลำพูน จังหวัดลำพูน ปี 2540-2542. วารสารส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแดวล้อม 2543; 23(1):43-54

14. สัน?ต บุณยะส่ง. สาเหตุการขาดอากาศของทารกแรกเกิดในโรงพยาบาลศรีสังวาล. วารสารกรมการแพทย์ 2545;24:7-16.

15. มยุรี ปัตตพงค์. การใช้ WHO Pantograph และแบบแผนการดูแลรักษาเพื่อศึกษาผลกระทบในการคลอดของโรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก. พุทธชินราชเวชสาร 2540: 202-9.

16. Muphy KW, Johnson P, Moocraft J, Pattinson R, Russel V, Tumball A, Birth asphyxia and the intrapartum cardiotocograph. Br J Obstet Gynecol 1990; 97; 470-9.

17. ธราธิป โคลทัต. การช่วยฟื้นคืนชีพทหารแรกเกิดในมนตรี ตู้จินดา. วินัย สุวัตถี. อรุณ วงษ์จิราฏร์. ประอรเชาวลิตธำรง. พิภพ เจริญภิญโญ. บรรณาธิการ. กุมารเวชศาสตร์ เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที 2.กรุงเทพมหานคร: สหวิชาญการพิมพ์; 2540: 130-1.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-04

ฉบับ

บท

บทความวิชาการทั่วไป