ความถูกต้องของการวินิจฉัยภาวะปัสสาวะไหลย้อนกลับด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงในผู้ป่วยเด็กที่ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะขอ รงพยาบาลนครพิงค์

ผู้แต่ง

  • ดวงกลม ประดษฐ์ด้วง โรงพยาบาลนครงพิงค์จังหวัดเชียงใหม่

คำสำคัญ:

การติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ, ภาวะปัสสาวะไหลย้อนกลับ, อัลตราซาวด์, , การตรวจ Voiding cystourethrograhy Hydronephrosis

บทคัดย่อ

                     เป็นการศึกษาเชิงวิเราะห์เพื่อประเมินความถูกต้องของการตรวจด้วยเคลื่นเสียงความถี่สูง ผฮัลตราซาวด์) ในการวินิจฉัยภาวะปัสสาวะไหลย้อนกลับ (Vesicoureteral reflux: VUR) เปรียบเทียบกับการตรวจ Voiding cystourethrograhy (VCUG)  โดยพิจารณาจาการมี Hydroncphrosis และความยาวของไตที่สั้นกว่าปกติเมื่อเทียบกับอายุ ได้ทำการศึกษาจากรายงานผู้ป่วยเด็กอายุตั้งแต่ 0 ถึง 15 ปี  ซึ่งได้รับการวินิจฉัยว่าเติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ (Urinary tract infection; UTI) ในโรงพยาบลนครพิงค์ที่ได้รับการตรวจทั้ง อัลตราซาวด์และ VCUG ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2548 ถึง 30 กันยายน พ.ศ. 2551 รวมทั้งสิ้น 97 ราย  เป็นชาย 49 ราย หญิง 48 ราย

                   ผลการศึกษาพบป่วยมีความผิดปกติที่บ่งชี้ถึงภาวะ VUR จากการตรวจด้วยอันตสาวคือมีและหรือความยาวของสายที่สั้นกว่าปกติเมื่อเทียบกับอายุ 38 ราย (ร้อยละ 39.2) ซึ่งมีเพียง 11 ราย (ร้อยละ 28.9) จาก 38 รายที่พบ VUR จริงจากการตรวจ VCUG และผู้ป่วยจำนวน 59 รายที่ผลอันตราสาวไม่พบความผิดปกติของไตนั้นมีสี่ราย (ร้อยละ 6.8) ที่มีจากการตรวจ VURการใช้อัตราซาวด์ในการวินิจฉัย VUR มีความไว (Sensitivity) ร้อยละ 73.3 ความจำเพาะร้อยละ 67.1 ร้อย 67.1 Positive predictive value ละร้อยละ 28.9 Negative predictive value ร้อยละ 93.2 และ False Negative rate   ร้อยละ 26.7 P-value เท่ากับ 0.033

                   จากผลการศึกษาพบว่าอันตาสาวมีความถูกต้องตามในการวินิจฉัยภาวะ VUR เนื่องจากมักมีความผิดปกติของไตจากอันตราสาวมีผู้ป่วยจำนวนเพียงร้อยละ 28.9 เท่านั้นที่พบว่ามี VUR vจริงแต่อย่างไรก็ตามหากผลการตรวจด้วยอันตสาวปกติแล้วจะมีโอกาสพบ VUR ได้ค่อนข้างน้อย (Negative predictive value ร้อยละ 93.2) ผลการศึกษานี้จึงเป็นประโยชน์แก่คนมากุมารแพทย์และแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไปในการพิจารณาส่งตรวจพิเศษทางรังสีในผู้ป่วยเด็กที่มีมาด้วยอาการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะต่อไป

References

1. Stark H. Urinary tract infection in girls: the cost- effectiveness of currently recommended investigative routines. Pediatr Nephrol 1997;11:174-77.
กาญจนา ตั้งนรารัชชกิจ Vesicouneteral Reflux:update in Diagnosis and Management. ใน : ดวงฤดี วัฒนาศิริชัยกุล, สารถ ภคกษมา. นางนุช ศิรชัยนันท์. ปาณีญา เพียรวิจิตร บรรณาธิการ. กุมารเวชศาสตร์ ก้าวหน้า 5. กรุงเทพมหานคร : บริษัทบียอนด์เอ็นเทอไพรซ์จำกัด , 2551: 257-66.

2. Dick PT. Feldman W” Routine diagnostic imaging for childhood urinary tract infection: a systematic overview. J Pediatric 1996; 128:15-22.

3. Dick PT, Feldman W. Routine diagnostic imaging for childhood urinary tract infection: a systematic overview. J Pediatric 1996; 128: 15-22.

4. Gordon I” urinary tract infection in pediatrics: the role of diagnostic imaging. Br J Radiol 1990: 63:507-11

5. American Academy of Pediatrics, Practice parameter: the diagnosis, treatment, and evaluation of initial urinary tract infection on febrile infants and of initial urinary tract infection in febrile infants and young children. Pediatrics 1999: 103:843-52.

6. Rosenbaum DM, Komgold E, Teele RL. Sonographic assessment of renal length in normal children. AJR Am J Roentgenol 1984; 142:467-69.

7. Lebowitz RL, Olbing H, Parkkulainen KV, et al. International system of radiographic gradin og vescoureteric reflux. International reflux study in children. Pediatr Radiol 1985; 15:105-9.

8. Davey MS, Zerin JM>Reilly C, et al. Mild renal pelvic dilatation is ot predictive of vesicoureteral relux n children. Pediatr Radiol 1997;27:908-11.

9. Mahant S, FriedmanJ, MacArthur C. Renal ultrasound findings and vesicoureterasl reflux in children hospitalized with urinar tract infection. Arch Dis Child 2002:86:419-21.

10. Berrocal T, Pinilla I, Gutierrez J, et al . Mild hydronephrosis in newborns and infants: can ultrasound predict the presence of vesicoureteral reflux. Pediatr Nephrol 2007: 22:91-96.

11. Alshamsam L, Harbi AA, Fakeeh K, et al. The value of renal ultrasound in children with a first episode of urinary tract infection: ann Saudi Med 2009;29:46-49.

12. Blan CE.DiPietro MA, Zerin JM,et al. Renal sonogrphy is not a reliable screening cxamination for vesicoureteral reflux.J Urol 1993; 150: 752-55.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-04

ฉบับ

บท

บทความวิชาการทั่วไป