การศึกษาอำนวจการทำนายอุบัติการณ์ของความยากการเห็นเส้นเสียงขณะใส่ท่อช่วยหายใจ ก่อนการเข้ารับการผ่าตัดในโรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์

ผู้แต่ง

  • ศรัญยา ปาระมีธง โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์

คำสำคัญ:

ความยากของการเห็นเส้นเสียงขณะใส่ท่อช่วยหายใจ, การประเมินทางเดินหายใจ

บทคัดย่อ

           การประเมินผู้ป่วยก่อนเข้ารับการผ่าตัดมีความสำคัญเป็นอย่างมากเพื่อประเมินความเสี่ยงของการเกิดอุบัติการใส่ท่อหายใจจากการประเมินทางเดินหายใจผู้ป่วยมีหลายวิธีได้แก่การประเมินวัดความกว้างระหว่างริมฝีปากบนและล่างการวัดความยาวตั้งแต่ thyroid notch ถึง mentum, Mallampati, สัดส่วนของความสูงกับความยาวตั้งแต่ thyroid notch ถึง mentum การศึกษานี้เป็นการศึกษาความน่าเชื่อถือของแต่ละวิธีว่าสามารถคาดการณ์อุบัติการการใส่ท่อช่วยหายใจยากได้มากน้อยเพียงใดโดยศึกษาเชิงพรรณนา โดยเก็บข้อมูลย้อนหลังผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดในโรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ปีพ.ศ. 2550 จำนวน 340 รายซึ่งเข้าได้กับเกณฑ์ที่กำหนดคืออายุ > 18 ปีผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดตามตารางนัดหมายผู้ป่วยที่ได้รับการระงับความรู้สึกโดยวิธี general anesthesia ที่ต้องใส่ท่อช่วยหายใจ, ASA class 1,2 และต้องไม่มีลักษณะดังต่อไปนี้คือผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดแบบฉุกเฉินผู้ป่วยที่ต้องระงับความรู้สึกโดยวิธี  rapid sequence induction, ผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูกต้นคอผู้ป่วยที่มี BMI >35kg/m2 ผู้ป่วยที่ตั้งครรภ์ มากกว่า 20 สัปดาห์ผู้ป่วยที่ไม่มีฟันโดยเก็บข้อมูลอายุเพศส่วนสูงน้ำหนัก ASA ความกว้างระหว่างริมฝีปากบนและล่างการวัดความยาวตั้งแต่ถึงสัดส่วนของความสูงกับความยาวตั้งแต่ thyroid notch ถึง mentum การประเมินภาวะใส่ท่อหายใจยากการประเมินโดยการตรวจพบความยากของการเห็นเส้นเสียงขณะใส่ท่อหายใจ Cormack และ Lehane ระดับ 3 หรือ4 การวัดผลการศึกษาโดยประเมิน sensitivity, specificity, PPV, NPV, Odd ratio โดยใช้ค่า P<0.05  แสดงความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ

ผลการศึกษาพบว่าความกว้างระหว่างริมฝีปากบนและล่างมากกว่าหรือเท่ากับ 3.5 เซนติเมตรการวัดความยาวตั้งแต่ถึง 6.5 เซนติเมตร, Malampati class สามหรือสี่สัดส่วนของความสูงกับความยาวตั้งแต่ thyroid notch ถึง metum มากกว่าหรือเท่ากับ 23.5 ทั้งสี่วิธีนี้มีความน่าเชื่อถือในการคาดการณ์ความยากของการเห็นเส้นเสียงขณะใส่ท่อช่วยหายใจได้และความกว้างระหว่างริมฝีปากบนและล่างมากกว่าหรือเท่ากับ 3.5 เซนติเมตรมี sensitivity 70% specificity 81%ส่วนการวัดความยาวตั้งแต่ thyroid notch ถึง mentum มี sensitivity 48% specificity 91% การประเมิน Mallampati class 3, 4 มี sensitivity สูงและมี specificity สูง ดังนั้น การทำนายและสัดส่วนของความสูงกับความยาวตั้งแต่ถึงพบมี52% 89% จะพบว่ามีสูงและมีสูงดังนั้นการทำนายอุบัติการของความยากของเหตุการเห็นเส้นเสียงสามารถประเมินได้ถูกวิธีและน่าจะมีประโยชน์มากที่สุด

References

1. Rendell T. predication of difficult intubation. Acta Anesthesal Scand 1996; 40: 1016-23.

2. Schmitt HJ, Kirmse M, Radespiel-Troger M.Ratio of patient’s height to thyromental distance improves production of difficult laryngoscopy. Aneasth Intensive Care 2002;30:763-5.

3. Johorn G. Ronayne M. Cunningham AJ. Prediction of difficult tracheal intubation. European Journal of Anesthesiology 2003;20(1): 31-6

4. Mallampati SR. Gatt SP. Gugino LD, Desoi SP, WaraksaB Freiberger D, Liu PL: A clinical sign to predict difficult tracheal intubation: A prospective study. Can Anesth Soc J 1985: 32:424-34.

5. Wilson ME, Spiegelhalter D, Robertson JR, Lesser P. Predicting difficult intubation. Br J Anesth 1988;61:211-6.

6. Shiga Toshiya M.D., Ph D et all. Predicting difficult intubation in Apparently Normal Patients: A metaanalysis bedisde screening test Performance. American Society of Anestesiologists 2005; 103:429-437.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-04

ฉบับ

บท

บทความวิชาการทั่วไป