ผลการรักษากระดูกหน้าแข้งหัก หลายชิ้น ด้วยวิธีการผ่าตัดดามด้วยแผ่นโลหะที่ทำให้เกิดอันตรายต่อเนื้อเยื่อยน้อยที่สุดโรงพยาบาลลำพูน

ผู้แต่ง

  • ภูมิศิลป์ เก่งกาญ กลุ่มงานศัลกรรมออร์โธปิดิกส์ โรงพยาบาลลำพูน

คำสำคัญ:

กระดูกหน้าแข้งแบบแตกลายชิ้น, การผ่าตัดแบบมาตรฐาน, การผ่าตัดที่ทำให้เกิดอันตรายต่อเนื้อเยื่อน้อยที่สุด

บทคัดย่อ

                 ปัญหาที่พบบ่อยในการรักษาผู้ป่วยกระดูกหน้าแข้งแบบแดกหลายชิ้นด้วยกันผ่าตัดดามโลหะ plate ก็ดูติดช้ากระดูกไม่ติดและการติดเชื้อหลังผ่าตัดได้มีการใช้เทคนิคการทำการผ่าตัดที่ทำให้เกิดอันตรายของเนื้อเยื่อน้อยที่สุด (Minimally Invasive Plate Osteosynthesis: MIPO) มาเพื่อใช้แก้ปัญหาดังกล่าวการศึกษานี้เป็นการศึกษาข้อมูลย้อนหลังเชิงวิเคราะห์เพื่อเปรียบเทียบผลการรักษาผู้ป่วยกระดูกหน้าแข้งหักแบบแตกหลายชิ้นระหว่างการผ่าตัดดามโลหะ Plate ด้วยวิธีแบบมาตรฐานกับวิธีที่เป็นอันตรายต่อเนื้อเยื่อน้อยที่สุด (MIPO) ของพยาบาลลำพูนในผู้ป่วย 74 รายเก็บข้อมูลตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2549 ถึง 31 ธันวาคม 2551 อายุตั้งแต่ 12 ถึง 72 ปี (เฉลี่ย 28 19 ปี) สาเหตุส่วนใหญ่ของกระดูกหักก็จะอุบัติเหตุจราจร (81.6%) เปรียบเทียบผลการผ่าตัดด้วย Chi square tests ผลการศึกษาพบว่าผู้ป่วยกระดูกหน้าแข้งหักแบบแดกหลายชิ้นที่ได้รับการผ่าตัดดามเหล็กด้วยวิธี MIPOมีอัตราการติดเชื้อ น้อยกว่าใช้เวลาในการผ่าตัดนานกว่ามีระยะเวลาในการติดของกระดูกสั้นกว่าวิธีการผ่าตัดแบบมาตรฐานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05

References

S. Terry Canale, Campbells operative orthopedics. 9th ed. St. lous, Missouri: Mosby-Year book; 1996 p. 2068.

Bach AW, Hansen ST. Plates versus extemal fixation in severe open tibial shaft fractures: a randomized tral. Clin Orthop 1989; 241:89-94.

Clifford RP, Lyons TJ, Webb JK. Complications of external fixation of open fractures of the tibia. Injury1987;18:174-176.

Chandler Robert W. Principles of internal fexation Rockood and Greene’s fractures in adults, 4th edition. 1996; 1:159-217.

Ruedi T, Webb JK, Allgow M. Experience with the dynamic compression plate (DCP) in 418 recent fracture of the tibial shaft. Injury 1976; 7:252-7.

Helfet D, Paul Y Shonnard. David Levi, Joseph Borreli Jr. Minimally invasive plate osteosynthesis of distal fractures of the tibia. Injury 1998; 28(1):42-48.

Radziejowsky MJ, Winieski TF, Minimally invasive plating of proximal tibial fractures. JBSJS(BR)1998;80-B(2):164.

Olson SA, Schemisch EH. Open fracture of the tibial shaft: an update. In: Ferlic DC, editors. Instructional course lectures volume 52. 1sted. Illinois: American Academy of orthopedics surgeons; 2003.p.623-31

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-07

ฉบับ

บท

บทความวิชาการทั่วไป