ปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้ในการดูแลตนเองของหญิงหลังคลอดโรงพยาบาลสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
คำสำคัญ:
การมีส่วนร่วมของชุมชน, การดูแลสูงอายุแบบองค์รวมบทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฎิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participation Action research : PAR) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลผู้สูงอายุแบบองค์รวมในพื้นที่หมู่ที่ส4 บ้านศรีบังวันและหมู่ที่ 5 บ้านเจดีย์ขาวตำบลริมปิง อำเภอเมืองจังหวัดลำพูน กลุ่มเป้าหมายมีสองกลุ่มกลุ่มที่หนึ่งคือผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการจำนวน 200 คนเพื่อเก็บข้อมูลสำรวจภาวะสุขภาพผู้สูงอายุโดยใช้แบบสำรวจสภาวะผู้สูงอายุที่ปรับมาจากแบบประเมินสุขภาพผู้สูงอายุของสถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุกรมการแพทย์กระทรวงสาธารณสุขและกลุ่มที่สองคือเครือข่ายองค์กรในชุมชนเจ้าหน้าที่หน่วยงานภาครัฐจำนวน 70 คนศึกษากระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลผู้แบบองค์รวมโดยเครือข่ายขององค์กรในชุมชนเก็บข้อมูลโดยการสังเกตแบบมีส่วนร่วมและไม่มีส่วนร่วมการสนทนากลุ่มและการจดบันทึกภาคสนาม
ผลการศึกษาพบว่าพื้นที่มีลักษณะเป็นสังคมชนบทใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมใช้ภาษาพื้นเมืองอยู่ร่วมกันรวดเดียวนะครับขยายในลักษณะเครือญาตมีความช่วยเหลือเกื้อกูลการนับถือศาสนาพุทธจากการสำรวจสภาวะสุขภาพเป็นพี่ชายแล้วล่ะ 57.97 ปีส่วนใหญ่ร้อยละมีพฤติกรรมเสี่ยงสุขภาพบริการเสริมด้านกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลแบบองค์รวมกลไกการทำงานที่สำคัญคือการเตรียมชุมชนด้วยการคืนข้อมูลที่ได้จากการสำรวจสภาวะกับต้องการให้ชุมชนเพื่อให้ชุมชนได้รับทราบถึงสภาวะสุขภาพปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุจุดประกายคิดสักวันอย่างหนักเล็งเห็นความสำคัญเกิดแรงจูงใจและเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานจึงนำไปสู่การแต่งตั้งคณะทำงานขึ้นมาจากนาทีจาก 20 คนชอบมีการประชุมสี่มิติคือกายจิตสังคมและจิตวิญญาณผ่านกลไกทางประเพณีจะมาทำของชุมชนให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้สูงอายุมีการประเมินผลและการสรุปบทเรียนซึ่งกลไกการทำงาน ดังกล่าวจากกระบวนการทำงานแบบมีส่วนร่วมประสานการทำงานร่วมกันระหว่างเครือข่ายในชุมชนโดยมีหน่วยงานภาครัฐให้การสนับสนุนเป็นการดึงศักยภาพที่มีอยู่มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดส่งผลให้ผู้สูงอายุได้รับการเนื่องด้วยสามารถมีส่วนร่วมนำกระบวนการทำงานแบบมีส่วนร่วมในรูปแบบนี้ไปปรับใช้ในการแก้ไขปัญหาในการดูแลกลุ่มเป้าหมายต่างๆในชุมชนได้ต่อไป
References
โสภิต สุวรรณ เวลาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองการสนับสนุนทางสังคมกับพฤติกรรมกาดูแลตนเองของมารดาวัยรุ่นหลังคอลดวิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศสตร์มหาบัณฑิตสาขาวิชการพยาบาลแม่และมหาบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2537
จรรยา จินต์วิรนันท์. การประยกต์ใช้ภิปัญญาท้องถิ่นในการดูแลตนเงของหญิงหลังคลอดในตำบลบ้านกลาง อำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาสาสตร์มหาบัณฑิตสาขาวิชาการส่งเสริมสุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2546.
มณฑา จงกล่อม ความ ต้องการพยาบาลและการพยาบาลท่ได้รับของมารดาหลังคลอดที่มีบุตรอยู่ด้วยโดยเร็วหลังคลอดที่โรงพยาบาลอุตรดิตถพ์วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิตสาวิชาการพยาบาลแม่และเด็กบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2537
พรพรรณ คีลาวงค์. โปรแกรมการเลี้ยงดูทารกสำหรับมรดาหลังก่อนจำหน่ายจาโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตสาขาวิชาการส่งสริมสุขภาพมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2544.
จิตราพร วรวงศ์. เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงสู่บทบาทมารดาระหว่างมารดาวัยรุ่นกับมรดาวัยผู้ใหญ่ที่มี่บุตรคนแรกในระยะหลังคลอดวิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลแม่และเด็กบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2537.