อุบัติการณ์การบาดเจ็บของข้อมือในแง่การวินิจฉัยการหักของกระดูกแคฟฟอยด์

ผู้แต่ง

  • อนุพงศ์ เรืองเดชอนันต์ โรงพยาบาลดารารัศมี เชียงใหม่

คำสำคัญ:

อุบัติการณ์การบาดเจ็บ, การวินิจฉัยการหักของกระดูกแคฟฟอยด์

บทคัดย่อ

            อุบัติเหตุการได้รับบาดเจ็บที่ข้อมือเป็นปัญหาที่พบบ่อยเนื่องจาก เมื่อเกิดอุบัติเหตุแล้วมีการลมโดยธรรมชาติผู้ป่วยมักจะเอาส่วนของฝ่ามือและข้อมือยันพื้นการบาดเจ็บอาจจะเป็นแบบไม่รุนแรงเช่นการคลิกฟกช้ำของข้อมือเป็นต้นหรือมีการบาดเจ็บที่รุนแรงทำให้กระดูกของข้อมือหักซึ่งอาจเป็นทั้งแบบที่พบบ่อยเช่นการหักของกระดูก distal radius และพบไม่บ่อยเช่นกระดูก carpal bone หากโดยเฉพาะการหักของกระดูก scaphoid zarpal bone เพราะเป็นกระดูกหักอันดับสองของกระดูกข้อมือหักแต่มักจะมีปัญหาในการวินิจฉัยแรกเริ่มไม่ได้การศึกษาครั้งนี้ได้ศึกษาเวชระเบียนผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอกของผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บของข้อมือและได้รับการเอ็กซเรย์ข้อมือทุกรายในโรงพยาบาลเชียงใหม่ใกล้หมอตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2548 ถึง 30 เมษายน 2549 จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับบัตรเจ็บข้อมือ 272 รายพบว่าอุบัติการของการบาดเจ็บที่ไม่รุนแรงคือข้อมือเคล็ด 27.2% เป็นเพศชายต่อเพศหญิง 2.3 :1 ข้อมือฟกช้ำ 20.9% เพศชายต่อเพศหญิง 1.5 :1 บาดเจ็บรุนแรงปานกลางมีผลที่ข้อมือร่วมกับเส้นเอ็นหรือเส้นประสาทขาดพบ 5.1:1 บาดเจ็บรุนแรง คือข้อมือเคล็ด 27.2% เป็นเพศชายต่อเพศหญิง 2.3:1 ข้อมือฟกช้ำ 20.9% เพศชายต่อเพศหญิง 6: 1 การบาดเจ็บที่รุนแรงกระดูกข้อมือหกพบว่ากระดูก distal radius หัก 31.6% เพศชายต่อเพศหญิง 1.8:1 กระดูก distal radius และ distal ulna หัก 7.7% เพศชายต่อเพศหญิง 3.2:1 กระดูก distal ulna หัก 1.8% เพศชายต่อเพศหญิง 4:1 กระดูก pisiform หัก 0.37% กระดูก hook of hamate หัก 0.37% กระดูก scaphoid หัก 5% เพศชายต่อเพศหญิง 1.6:1 แต่ปัญหาการวินิจฉัยผิดพลาดของกระดูก scaphoid หักพบ 77% (10 รายใน 13 รายป และเป็นการวินิจฉัยเริ่มแรกที่ถูกต้องของกระดูก scaphoid หัก 23% (3 รรายใน 13 ราย ) โดยผู้ป่วย 2 รายวินิจฉัยโดยแพทย์กระดูกและข้อ และ 1 รายวินิจฉัยโดยแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป

References

Pillai A, Jain M. Management of clinical fractures of the scaphoid:results of an audit and literature review. Eur J Emerg Med. 2005 Apr; 12(2): 47-51.

Missed Scaphoid Fractures. in:Thompons solicitors [serial on line]. 2006 [cited 2006 Jun 10]; Availablefrom:
URL://http://www.thompsons.law.co.uk/clinicalnegligence/ undiagnosed-scaphoid-fractures.htm.

Scaphoid (Caroal Navicular) Fracture. In: National Center for Emerycmcy Medicine Imformaties [serial
online]. 2006 [cited 2006 Jun 10]; Available from:URL://http: //www.ncemi.org/cse/cse.0923.htm.

Hospital Episode Statistics 2002-2003. in: Department of Healthy England [serial online]. 2006 [cited 2006 Jun 10]; Available from: URL: //http://www.wrongdiagnosis.com/w/wrist-injury/ stats.htm-32k.

Gutierrez G. Office Management of Scaphoid Fractures. [serial on line]. 2006 [cited 2006 Jun 10]; Available from: URL: //http: //www. physsportsmed.com/issues/1996/08_96/gutierrez.htm.

Parvizi J, Wayman J, Kelly P, Moran CG. Combining the clinical signs improves diagnosis of scaphoid fractures. A prospective study with follow- up. J Hand Surg (Br). 1998 Jun; 23(3):324-7.

David P. Green, Robert N. Hotchkiss, editors. Operative Hand Surgery. New York; Churchill Livingstone; 1993:799-806.

Breederveld RS, Tuinebreijer WE. Investigation of computed tomographic scan concurrent criterion validity in doubtful scaphoid fracture of the wrist. J Trauma. 2004 Oct; 57(4): 851-4.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-07-12

ฉบับ

บท

บทความวิชาการทั่วไป