การปรับพฤติกรมบริการและประเมินผลลัพธ์การให้บริการแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยบาลลำพูน

ผู้แต่ง

  • วรกิจ ศรีผดุงอำไพ โรงพยาบาลลำพูน จังหวัดลำพูน

คำสำคัญ:

พฤติกรรมบริการการประเมินผลลัพธ์ความพึงพอใจ

บทคัดย่อ

      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการปรับติกรรมบริการในผู้ให้บริการและศึกษาผลลัพธ์ของการให้บริการแผนกผู้ป่วยโรงพยาบาลลำพูนรวมข้อมูลในกระบวนการปรับพฤติกรรมการบริการด้วยการสังเกตุแบบมีส่วนร่วมและไม่มีส่วนร่วมจากเจ้าหน้าที่ที่เข้าร่วมกระบวนการจำนวน 400 คนวิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีวิเคราะห์เชิงเนื้อหารวบรวมข้อมูลในการประเมินผลลัพธ์ของการให้บริการผู้ป่วยนอกโดยการใช้แบบสอบถามความพึงพอใจจากผู้มารับการบริการจำนวน 400 คนวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย. และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและเปรียบเทียบพอใจการทดสอบค่า (t-test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (Oneway Analysis of Variance) ผลการศึกษาพบว่ากระบวนการปรับพฤติกรรมบริการทำให้ผู้ให้บริการเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกัน แลกกันเกิดการเรียนรู้ใหม่ใหม่จึงทำให้พฤติกรรมการบริการของผู้ให้บริการมีการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นสามารถนำมาปรับใช้กับการประสานงานได้การประเมินผลลัพธ์จากความพึงพอใจของผู้บริการที่มีต่อบริการโดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ในมากในด้านคุณภาพของบริการด้านการเลิกกันของแพทย์ด้านการบริการของพยาบาลของมีงานที่เกี่ยวข้องกับบริการมีความพอใจกลางในด้านความสะดวกด้านมนุษยสัมพันธ์ด้านการประสานงานจากข้อมูลที่ได้รับ และในด้านอุปกรณ์ สถานที่และสิ่งแวดล้อมการเปรียบเทียบความพึงพอใจแยกตามสถานะส่วนบุคคลปรากฏว่าผู้รับบริการทั้งเพศชายและเพศหญิงในทุกระดับอายุมีความพึงพอใจต่อบริการของโรงพยาบาลไม่แตกต่างกันสำหรับการเปรียบเทียบระหว่างระดับการศึกษาอาชีพรายได้พบว่ามีความพึงพอใจที่แตกต่างกันอย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพมีความพึงพอใจในระดับที่แตกต่างไปจากผู้จบระดับอนุปริญญาหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงและระดับปริญญาตรีหรือสูงกว่าเกษตรกรมีความพึงพอใจในระดับที่แตกต่างไปจากผู้มีอาชีพรับราชการรัฐวิสาหกิจและอาชีพอื่นๆนอกจากนี้ผู้มีรายได้ต่างกันก็มีความมึงพอใจแน่แบบแตกต่างกันในทุกระดับรายได้สำหรับปัญหาและข้อเสนอแนะปัญหาที่ผู้รับบริการตอบและมีความถี่สูงสุดเป็นรายละเอียดและความรวดเร็วในการตรวจรักษา

References

นงคราญ ผาสุก และคณะ . องค์ประกอบที่ทำให้เกิดความเครียดในผู้ป่วยที่มารับบริการใน แผนกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลรามาธิบดี. กรุงเทพฯ : คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล. 2524.

ประกิต อุตตะโมต. ความจำเป็นพื้นฐานของคนไทย กับการพัฒนาคุณภาพชีวิต ในรายงานสัมมนา เรื่อง ความจำเป็นพื้นฐานของคนไทยกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต. เอกสารครั้งที่ 25 คำกล่าวเปิดการประชุมสัมมนา. 19-23 สิงหาคม 2528.

อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล. ความรู้เบื้องต้นเรื่องการบริหารคุณภาพ . กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยระบบสาธาณสุข. 2536.

Mechanic,David. Medical sociology: a selective view / David Mechanic; New York : Free Press.1968.

นัทวัฒน์ วัฒนรุ่งเรื่อง และคณะ. ความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อบริการผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชตะพานหน จังหวัดพพิจิตร. (รายงานการวิจัย) พิจิตร : โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชตะพานหิน .2532.

Aday, L.A., Andersen, R. Thoretical and methodological issue in Sociological studies of consumer Social Science and medicine.1975.

เพชรา จอมงาม. เวลาที่ใช้คามพึงพอใจในการรับบริการแผนกผู้ป่วยนอกของ(รับบริการโรงพบาบาลลานนา. การค้นคว้าแบบอิสระ พยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2543.

Day, F.A., Boonlert Leoprapai. Patterns of health utilization in upcountry thailand: a Report of the research project on the effect of location on family planning/health facility use. Bankok: institute for population and Social Research, Mahidol University. 1977.

สมชัย ภิญโญพาณิชย และเบญจมาภรณ์ ภิญโญพาณิชย์. ความพึงพอใจของผู้ป่วยต่อการให้บริการของแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลกำแพงแพชร . (รายงานการวิจัย) . กำแพงเพชร : โรงพบาลกำแพงเพชร.2536

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-07-12

ฉบับ

บท

บทความวิชาการทั่วไป