การศึกษาปัญหามลพิษในอากาศ และปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ต่อการทำงานของปอด : การศึกษาการตรวจสมรรถภาพปอดในตำรวจจราจร จังหวัดเชียงใหม่ 2551

ผู้แต่ง

  • แสวง เที่ยงใจ โรงพยาบาลดารารัศมี จังหวัดเชียงใหม่

คำสำคัญ:

Air pollution, Spirometry, Traffic policemen in Chiang Mai, COPD

บทคัดย่อ

      โรคปอดอุดกั้นเรื้อรังเป็นโรคที่มีอุบัติการณ์เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่องนอกจากการสุขบุรีแล้วมลพิษในอากาศโดยเฉพาะการสูดฝุ่นธาตเป็นสาเหตุสำคัญอย่างหนึ่งของการเกิดโรคและในปัจจุบันพบว่าหามลพิษในเมืองใหญ่ใหญ่โดยเฉพาะจังหวัดเชียงใหม่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจึงทำให้มีเป็นที่น่าพวิตกในสุขภาพของประชาชนที่อาศัยอยู่ในชุมชนโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรที่ปฎิบัติหน้าที่บนนักวิจัยได้แต่หนักถึงปัญหานี้จึงได้ทำการตรวจสมรรถภาพการตอบแบบสอบถาม ถึงปัจจัยเสี่ยงต่างๆ จากการตรวจสมรรถภาพปอดของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรจำนวน 189 รายนี้อายุระหว่าง 26 ถึง 60 ปีพบว่ามี 12 ราย (ร้อยละ 6.3) มีการตีบแคบของทางเดินหายใจขนาดเล็ก (small airway discase) 38 แบบปีอายุเฉลี่ย 48.9) ระยะเวลาการทำงานเป็นเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรระหว่างหนึ่งถึง 20 ปีเปิดเฉลี่ย 15.5 ปี) ส่วนใหญ่สวมใส่เครื่องป้องกันบางครั้งจำนวน 6 ราย (ร้อยละ 50) จากประวัติพบว่ามี 5 รายที่มีประวัติสูบบุหรี่ส่วนอีก7รายไม่สูบบุหรี่ ดังนั้นผลการตรวจสมรรถภาพปอดที่พบว่ามีการตีบแคบของทางเดินหายใจขนาดเล็กซึ่งเป็นความผิดที่พบได้ในระยะแรกก่อนที่จะป่วยจะมีอาการทางปอดและภาพถ่ายรังสีทรวงอกนั้นน่าจะมีสาเหตุมาจากการสูบบุหรี่และการสูดฝุ่นธาตเข้าไปในปอดผลการศึกษานี้สนับสนุนการศึกษาก่อนหน้านี้ถึงผลของมลพิษในอากาศต่อการทำงานของปอด

References

ชายชาญ โพธิรัตน์. โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง. ใน : นิธิพัฒน์ เจียรกุล, บรรณาธิการ. ตำราโรคระบบทางเดินหายใจ. กรุงเทพมหานคร : -ภาพพิมพ์, 2550: 408-443.

Halbert RJ, Isoraka S, George D, Igbal A. Interpreting COPD prevalence estimates. What is the true burden of disease ? chest 2003; 123: 1684-1692.

วิจัย เอกพลากร, อรพรรณ์ เมธาดิลกกุล, ปฐม สรค์ ปัญญาเลิศ และคณะ. การศึกษาเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างการทำงานในบริเวณที่มีการจราจรหนาแน่น ต่อการเกิดโรคทางเดนิหายใจของตำรวจจราจร พ.ศ. 2534 , กองระบาดวิทยากรุงเทพมหานคร.

Saenghirunvattana S, Boontes N, Vongivat K. Abnormal pulmonary function test among traffic policemen in Bangkok. Rama Med J 1995; 18: 44 – 46.

เฉลิม ลิ่วศรีสกุล, แสงนวล ตุงคณาคร, อัชนา เลียวหิรัญ. ปัญหามลพิษทางอากาศต่อการทำงานของปอดกเชียงใหม่เวชสาร. 2545; 41(2)89 - 94.

แนวทางการตรวจสมรรถภาพปอด สไปโรเมตรีย์ โดยสมาคมอุรเวชช์แห่งประเทศไทย, Available from: (http:// www.rcpt.or/guidelines/6 GuidelinePFT.pdf)

นิธิพัฒน์ เจียรกุล. การตรวจสมรรถภาพปอด. ใน : นิธิพัฒน์ เจียรกุล. บรรณาธิการ. ตำรวโรคระบบทางเดินหายใจ. กรุงเทพมหานคร : ห้างหุ้นส่วนจำกัด ภาพพิมพ์, 2550: 106-122.

Crapo RO. Pulmonary function testing. N EngI. J Med 1994; 331: 25-30

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-07-12

ฉบับ

บท

บทความวิชาการทั่วไป