การพัฒนาวิธีการเตรียมเม็ดเลือดแดงที่กำจัดเม็ดเลือดขาวออกโดยการปั่นแยกชนิดถุงพ่วง

ผู้แต่ง

  • จุรี กสิณฤกษ์ โรงพยาบาลนครพงค์ จังหวัดเชียงใหม่

คำสำคัญ:

การให้เลือด, ส่วนประกอบของเลือด, เม็ดเลือดแดงที่กำจัดเม็ดเลือดขาวออก, ถุงแม่, ถุงแบ่ง

บทคัดย่อ

               การให้ส่วนประกอบของเลือดที่มีคุณภาพเหมาะสมกับผู้ป่วยจะสามารถลดความเสี่ยงจากการปฏิกิริยาอันไม่พึงประสงค์จากการรับเลือดในผู้ป่วยได้โดยเฉพาะผู้ป่วยที่จำเป็นต้องรับเลือด เช่นผู้ป่วยโรคธาลัสซีเมียการให้เม็ดเลือดแดงที่กำจัดไม่ได้ขาออกสามารถลดการเกิด febrile non hemolytic transfusion reaction ได้แต่การให้ส่วนประกอบของเลือดชนิดนี้มีค่าใช้จ่ายในการเตรียมสูงกว่าการให้เม็ดเลือดแดงทั่วไปนอกจากนี้ในกรณีผู้ป่วยที่เป็นโรคธาลัสซีเมียที่มีน้ำหนักน้อยแพทย์จะสั่งให้เม็ดเลือดแดงในปริมาณเพียง 100-150 ซีซี ซึ่งในการเตรียมเลือดให้ผู้ป่วยดังกล่าวทำได้โดยการถ่ายเลือดใส่ถุงแบ่งในปริมาณที่ผู้ป่วยต้องการโดยมีขั้นตอนการดำเนินการคือนำถุงแบ่งออกมาต่อกับถุงแม่โดยใช้เครื่องเชื่อมต่อสายส่งเลือด. การเตรียมเลือดโดยวิธีนี้เป็นการเตรียมเลือดระบบปิดและสามารถเก็บเลือดที่แยกไว้ได้นานแต่วิธีนี้มีข้อเสียคือไม่สามารถทำได้ในโรงพยาบาลมีดที่ใช้สำหรับตัดสายถุงเลือดอีกครั้งละประมาณ 100 บาททำให้ต้องเตรียมเรื่องโดยวิธีใช้ถุงแบ่งต่อกาดทั่วไปเนื่องจากส่วนใหญ่ไม่มีเครื่องเชื่อมต่อสายถูกเลือดซึ่งมีราคาแพงมาก (ประมาณเครื่องละหนึ่งล้านบาท) และต้องมีค่าใช้จ่ายสำหรับ ใบมีดที่ใช้สำหรับตัดสายถุงเลือดอีกครั้งละประมาณ 100 บาททำให้ต้องเตรียมเลือดโดยวิธีใช้ถุงแบ่งตอกกลับถุงแม่โดยตรงซึ่งเป็นการเตรียมส่วนประกอบของเลือดในระบบเปิดทำให้จำเป็นต้องใช้เลือดภายใน 24 ชั่วโมงหากไม่ได้ใช้เลือกตั้งกำหนดจำเป็นต้องทิ้งเลือดไปและทำให้เกิดการสูญเสียขึ้นเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าวในการศึกษานี้ผู้วิจัยได้พัฒนาวิธีการเตรียมเม็ดเลือดแดงที่กำจัดเม็ดเลือดขาวออกรูปแบบใหม่ขึ้นมาซึ่งวิธีที่พัฒนาขึ้นนี้เป็นวิธีเตรียมเลือดในระบบปิดและจากถุงแม่หนึ่งถุงสามารถเตรียมเลือดเพื่อนำไปให้ผู้ป่วยเด็กได้ถึงสองถึงสามถุงด้วยเลือดที่เตรียมได้มีคนบ้ามาตรฐานทั้งในด้านปริมาณจำนวนเม็ดเลือดขาวที่หลงเหลืออยู่และจำนวน hematocrit เลือกที่เตรียมได้สามารถนำไปให้ผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสมวิธีที่พัฒนาขึ้นมานี้สามารถลดความสูญเสียและการขาดแคลนเลือดภายในโรงพยาบาลได้นอกจากนี้วิธีที่พัฒนาขึ้นมานี้ยังสามารถแยกไม่เลือดแดงที่กำจัดเม็ดเลือดขาวได้โดยไม่ต้องใช้เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ราคาแพงเหมาะสมอย่างมากที่จะนำประยุกต์ใช้โดยเฉพาะในโรงพยาบาลขนาดเล็กที่มีความจำกัดในด้านงบประมาณ

References

พูนทรัพย์ ผลาขจรศักดิ์. ภูมิคุ้มกันโลหิตวิทยาและธนาคาคเลือด . คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ; 2551.

การประชุมเชิงปฏิบัติการงานบริการโลหิตแห่งชาติประจำปี 2550. ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภาพกาชาดไทย. กรุงเทพ; 2550.

Standard for Blood Banks and Transfusion Services 24th Edition. American of Blood Bank. Maryland;2006.

คู่มือการปฏิบัติงานธนาคารเลือด. กองโรงพยาบาลภูมิภาค กระทรวงสาะรณสุข. กรุงเทพฯ ; 2542.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-07-15

ฉบับ

บท

บทความวิชาการทั่วไป