มุมมองใหม่ด้านสุขภาพทางเพศ และอนามัยเจริญพันธุ์ ปัญหาท้องเมื่อไม่พร้อม และการทำแท้ง

ผู้แต่ง

  • โภคิน ศักรินทร์กุล

คำสำคัญ:

การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์, การทำแท้ง, สุขภาพทางเพศ, อนามัยเจริญพันธุ์, บทบาทชายหญิง

บทคัดย่อ

         ปัจจุบันปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ และการทำแท้งนับเป็นปัญหาที่สำคัญของประเทศไทย ซึ่งส่งผลให้สตรีได้รับบาดเจ็บ และเสียชีวิตตามมาจากการกระทำดังกล่าว ปัญหานี้นับเป็นหนึ่งในปัญหาสุขภาพทางเพศและอนามัยเจริญพันธุ์นอกเหนือไปจากปัญหาโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ โรคเอดส์ สาเหตุส่วนหนึ่งเกิดมาจากความแตกต่างทางชีววิทยาระหว่างหญิงและชาย การกำหนดบทบาทเพศ และความสัมพันธ์ระหว่างชายหญิงภายใต้ระบบชายเป็นใหญ่ ที่ส่งผลให้เกิดความเหลื่อมล้ำทางเพศ และการใช้อำนาจต่อเพศหญิง เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวจึงควรมีการส่งเสริมการรับรู้ สิทธิทางเพศ พร้อมทั้งให้ความรู้ทางด้านสุขภาพทางเพศแก่ประชาชนทุกคน รวมถึงการผนวกสุขภาพทางเพศเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของทุกภาคีสังคม

References

จันทร์เพ็ญ ชูประภาวรรณ. หนังสือชุด “สุขภาพคนไทย ปี พ.ศ. 2543” สถานะสุขภาพคนไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน, 2543: 48.

เยาวรัตน์ ปรปักษ์ขาม และพรพันธ์ บุณยรัตพันธุ์. รายงานการสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 3 พ.ศ. 2546-2547 The Report of Thailand Population Health Examination Survey III. นนทบุรี: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข, 2549: 163-164.

ยศ สันตสมบัติ. มนุษย์กับวัฒนธรรม พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2548: 147-271.

วิฑูรย์ อึ้งประพันธ์. กฎหมายทำแท้ง: ข้อโต้แย้งที่ยังไม่ยุติ. กรุงเทพมหานคร สำนักพิมพ์เจนเดอร์เพรส, 2537:21.

กนกวรรณ ธราวรรณ. รายงานผลการวิจัย บันทึกประสบการณ์ของผู้หญิงที่ตั้งท้องเมื่อไม่พร้อม. กรุงเทพมหานคร: โครงการรณรงค์เพื่อสิทธิอนามัยเจริญพันธุ์ สภาประชากร (The Population
Council); 2545: 31.

ธีระ ทองสง จตุพล ศรีสมบูรณ์ และอภิชาต โอฬารรัตนชัย. นรีเวชวิทยา (ฉบับสอบบอร์ดา). กรุงเทพมหานคร: หจก.พี.บี.ฟอเรน บุ๊คส์ เซนเตอร์, 2539: 515-518.

บุญเสริม หุตะแพทย์. แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับชายหญิง. ในประมวลสาระชุดวิชาการ ศึกษาบทบาทชายหญิง (Gender studies). นนทบุรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์, 2545: 1-56.

อวัสดา (ทับทิมแท้) จันทร์แสนตอ. รายงานการวิจัยเรื่อง ความรุนแรงในครอบครัว: มุมมองของผู้หญิง (โครงการฝึกอบรมนักวิจัยด้านสตรีศึกษา รุ่นที่ 4 พ.ศ. 2542-2544 ศูนย์สตรีศึกษา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่). เชียงใหม่. ศูนย์สตรีศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2544: 19.

World Health Organization, WHO Declaration of Sexual Rights (Online). Available from: http://www2.huberlin.de/sexology/ECC5/who_declaration_of_sexual_righ.html(2006, Sep 19).

กรวิภา บุญซื่อ. สถานภาพ และบทบาทชายหญิงในสังคมไทย. ในประมวลสาระชุดวิชาการศึกษาบทบาทชายหญิง (Gender studies). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2545: 109-162.

วิระดา สมสวัสดิ์.รายงานการทบทวนมาตรการและนโยบายด้านเพศภาวะและเอดส์ในประเทศไทย (A Review of Measures and Policies on Gender and AIDS in Thailand. นนทบุรี: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข.2547.

World Health Organization. Sexual health-a new focus for WHO (Online). Available from
http://www.who.int/reproductive-health.hrp/progress/67.pdf (2006, September 19).

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-08-08

ฉบับ

บท

บทความวิชาการทั่วไป