โครงการนำร่องงานส่งเสริมสุขภาพเพื่อนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลทันตสุขภาพในศูนย์เด็กเล็ก
คำสำคัญ:
ทันตสุขภาพ, ผู้ดูแลเด็กเล็ก, ส่งเสริมสุขภาพบทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้ เพื่อทำโครงการนำร่องงานส่งเสริมสุขภาพเพื่อนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลทันตสุขภาพในศูนย์เด็กเล็กบ้านหนองกุลา อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก โดยทำการสำรวจและเลือกศูนย์เด็กเล็ก สนทนากลุ่มย่อยกับผู้นำชุมชน ครูผู้ดูแลเด็ก นำแบบสอบถามประเมินพฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็กเล็ก ด้วยการสัมภาษณ์ผู้ปกครอง ตรวจสุขภาพช่องปากและตรวจพัฒนาการเด็กเล็กนำข้อมูลทั้งหมดมาจัดกิจกรรมกลุ่มของผู้ปกครอง ผู้นำชุมชน และครูผู้ดูแลเด็ก เพื่อให้ความรู้และกระตุ้นให้คิดวิเคราะห์ปัญหาและกำหนดแนวทางการแก้ปัญหาให้กับชุมชนและศูนย์เด็ก ผลการทำโครงการและข้อสรุปพบว่าผู้ปกครองมีความรู้ในเรื่องสุขภาพและทันตสุขภาพมากขึ้น และกระตุ้นให้ชุมชนเห็นความสำคัญของส่งเสริมสุขภาพเด็กเล็ก
References
กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. รายงานผลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพกลุ่มเด็กอายุ 3 ปี พ.ศ. 2545. นนทบุรี: เอกสารอัดสำเนา, 2545.
กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. ปัจจัยที่มีอิทธิพบต่อการเกิดฟันผุของเด็กไทยอายุ 6-30 เดือน. นนทบุรี: ไม่ระบุสถานที่พิมพ์, 2547.
Gluck GM, Morganstein WM. Community dental health. 51hed. St. Louis Missouri: Mosby, 2003: 156-157.
Taylor RJ, Smith BH, van TeiJ'Iingen ER. Health and illness in the community. New York: Oxford, 2003: 57-78.
Filstrup SL, Briskie D, da Fonseca M, Filstrup SL, Briskie D, da Fonseca M, Early childhood caries and quality of life: child and parent perspectives. Pediatr Dent 2003; 25(5): 431-440.
Ayhan H, Suskan E, Yildirim S. The effect of nursing or rampant caries on height, body weight and head circumference. J Clin Pediatr Dent 1996; 20(3): 209-212.
American Academy of Pediatric Dentistry. Clinical guideline on infant oral health care. Pediatr Dent 2005; 26(7): 67-70.
ลดาวัลย์ ประทีปชัยกูร. การพยาบาลเพื่อส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สามเจริญพาณิชย์, 2535: 10-13.
วราภรณ์ รักวิจัย. การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: แสงศิลป์การพิมพ์, 2535.
ศูนย์ส่งเสริมพัฒนากากรเด็กภาคเหนือ กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือคัดกรองพัฒนาการเด็กแรกเกิด 0-5 ปี สำรหรับบุคลากรสาธารณสุขและผู้เกี่ยวข้องในการดูแบเด็กเชียงใหม่: ไม่ระบุสถานที่พิมพ์, 2543.
ฝ่ายทันตสาธารณสุขชนบทภาคใต้, คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. การดำเนินงานทันตสาธารณสุขใต้รูปแบบโครงการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: โอ เอส พริ้นติ้งเฮาส์, 2542: 14-52. 113-141.
Newton JT, Bower EJ. The social determinants of oral health: new approaches to conceptualizing and researching complex causal networks. Community Dent Oral Epidemiol 2005; 33: 25-34.
Baker EA, Goodman RM. Community assessment and change: a framework, principles, models, methods, and skills. In: Scutchfield FD, Keck CW, eds. Principles of public health practice. New York: Delmar Learning, 2003: 177-189.
Gish CW, Smith CE. Community oral health. In: McDonald RE, Avery DR, eds. Dentistry for the child and adolescent. 6th ed. St. Louis: Mosby, 1994: 862-877.
Gibson S, Williams S. Dental caries in preschool children: associations with social class, toothbrushing habit and consumption of sugars and sugar-containing foods. Further analysis of data from the National Diet and Nutrition Survey of children aged 1.5-4.5 years. Caries Res 1999; 33(2): 101-113.