การใช้ยาหลายขนาน การใช้ยาที่เสี่ยงต่อภาวะหกล้ม และภาวะหกล้มในผู้สูงอายุที่เข้ารับบริการระบบบริการปฐมภูมิ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา : การศึกษาแบบภาคตัดขวาง

ผู้แต่ง

  • ณัฐณิชา ธัญญาดี, พ.บ. โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา
  • ธาตรี โบสิทธิพิเชฎฐ์, พ.บ. กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา
  • ธนกมณ ลีศรี, Ph.D. สาขาการพยาบาลอนามัยชุมชน สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

คำสำคัญ:

การใช้ยาหลายขนาน, การใช้ยาที่เสี่ยงต่อภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ, ภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ, หน่วยบริการปฐมภูมิ

บทคัดย่อ

การศึกษาแบบภาคตัดขวางครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อหาความสัมพันธ์ของการใช้ยาหลายขนาน (Polypharmacy) กับภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ และความสัมพันธ์ของการใช้ยาที่เสี่ยงต่อภาวะหกล้ม
(Fall Risk-Increasing Drugs) กับภาวะหกล้มในผู้สูงอายุที่เข้ารับบริการหน่วยบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามกับผู้สูงอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 270 คนที่เข้ารับบริการหน่วยบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2564 ถึงกันยายน 2564 คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธี Convenient sampling นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์หาความสัมพันธ์โดยใช้สถิติ Multivariable logistic regression

ผลการศึกษาพบว่า ผู้เข้าร่วมวิจัยทั้งหมด 270 คน เป็นผู้ที่มีประวัติหกล้ม 90 คน (ร้อยละ 33.33) และผู้ที่ไม่มีประวัติหกล้ม 180 คน ปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะหกล้มในผู้สูงอายุอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ การใช้ยาที่เสี่ยงต่อภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ (OR 6.34, 95% CI: 1.03-38.88, p-value=0.046) และการมีกิจกรรมทางสังคม (OR 2.04, 95% CI: 1.14-3.65, p-value=0.017) ปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ ได้แก่ การใช้ยาที่เสี่ยงต่อภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ และการมีกิจกรรมทางสังคม

Author Biographies

ณัฐณิชา ธัญญาดี, พ.บ., โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา

แพทย์ประจำบ้าน สาขาเวชศาสตร์ครอบครัว

ธาตรี โบสิทธิพิเชฎฐ์, พ.บ., กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา

นายแพทย์ชำนาญการพิเศษ

ธนกมณ ลีศรี, Ph.D., สาขาการพยาบาลอนามัยชุมชน สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

References

World Health Organization. WHO Global Report on Falls Prevention in Older Age [Internet]. 2007 [cited 2021 Mar 29]. Available from: https://extranet.who.int/agefriendlyworld/wp-content/uploads/2014/06/WHo-Global-report-on-falls-prevention-in-older-age.pdf.

World Health Organization. Fact Sheet: Falls [Internet]. 2021[cited 2022 Jan 1]. Available from: https://www.who.int/news-room/fact-sheets/detail/falls.

นิพา ช้างเชื้อ, ลวิตรา ก๋าวี. รายงานการพยากรณ์การพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปีขึ้นไป) ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2560-2564 [อินเทอร์เน็ต]. 2559 [เข้าถึงเมื่อ /2565 มกราคม 1]. เข้าถึงได้จาก: http://www.thaincd.com/document/file/violence/การพยากรณ์การพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ%20ปี%202560-2564.pdf.

Moncada LV, Mire LG. Preventing Falls in Older Persons. American Academy of Family Physicians [Internet]. 2017 [cited 2021 Mar 29]. Available from: https://www.aafp.org/afp/2017/0815/afp20170815p240.pdf.

Aranyavalai T, Jalayondeja C, Jalayondeja W, Pichaiyongwongdee S, Kaewkungwal J, Laskin JJ. Association between walking 5000 step/day and fall incidence over six months in urban community-dwelling older people. BMJ Geriatrics 2020;20(1):1-11.

Zia A, Kamaruzzaman SB, Tan MP. The consumption of two or more fall risk-increasing drugs rather than polypharmacy is associated with falls. Geriatr Gerontol Int. 2016;17(3):463-70.

e K, Chou E, Boyce RD, Albert SM. Fall Risk-Increasing Drugs, Polypharmacy, and Falls Among Low-Income Community-Dwelling Older Adults. Innov Aging. 2021 Jan 8;5(1):igab001. doi: 10.1093/geroni/igab001.

Akande-Sholabi W, Ogundipe FS, Adebusoye LA. Medications and the risk of falls among older people in geriatric centre in Nigeria: a cross-sectional study. Int J Clin Pharm. 2020;43(1):236-45.

Milos V, Bondesson A, Magnusson M, Jakobsson U, Westerlund T, Midlov P. Fall risk-increasing drugs and falls: cross sectional study among elderly patients in primary care. BMC Geriatrics 2014;14(1)1-7.

สุทธิดา พงษ์พันธ์งาม, อัมภิชา นาไวย์. การหกล้ม ความกลัวการหกล้ม และการจำกัดกิจกรรมเนื่องจากกลัวหกล้ม ในผู้สูงอายุไทยที่อาศัยอยู่ในชุมชนชานเมืองเชียงใหม่. วารสารวิจัยสุขภาพและการพยาบาล 2563;36(1):22-38.

Bernard, R. Fundamental of Biostatistics (5th ed.). Duxbery: Thomson Learning; 2000.

กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือการคัดกรอง/ประเมินผู้สูงอายุ 2557. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สำนักงานกิจการโรงพิมพ์สงเคราะห์องค์การทหารผ่านศึก; 2557.

Kojima T, Akishita M, Nakamura T, Nomura K, Ogawa S, Iijima K, et al. Polypharmacy as a risk for fall occurrence in geriatric outpatients. Geriatr Gerontol Int 2012;12(3):425-30.

Trevisan C, Rizzuto D, Maggi S, Sergi G, Wang HX, Fratiglioni L, et al. Impact of social network on the Risk and Consequences of Injurious Falls in Older Adults. The American Geriatrics Society 2019;00(00):1-8.

ดาราวรรณ รองเมือง, ฉันทนา นาคฉัตรีย์, จีราพร ทองดี, จิตติยา สมบัติบูรณ์. อุบัติการณ์ของการหกล้มและปัจจัยที่สัมพันธ์กับการหกล้มในผู้สูงอายุที่อาศัยในชุมชน จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารวิทยาลัยพระปกเกล้า จันทรบุรี 2559;14(34):126-41.

Hoffman GJ, Malani PN, Solway E, Kirch M. Change in activity levels, physical functioning, and fall risk during the COVID-19 pandemic. J Am Geriatr Soc 2021;70:49-59.

Almegbel FY, Alotaibi IM, Alhusain FA, Masuadi EM, Al Sulami SL, Aloushan AF, et al. Period prevalence, risk factors and consequent injuries of falling among the Saudi elderly living in Riyadh, Saudi Arabia: a cross-sectional study. BMJ Open 2018;8(1):1-9.

เสน่ห์ แสงเงิน, ถาวร มาต้น. การศึกษาเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตในเขตชุมชนเมือง เขตชุมชนกึ่งเมือง และเขตชุมชนชนบท จังหวัดสุโขทัย. วารสารสาธารณสุขศาสตร์ 2561;48(2):174-84.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-03-17