การส่งเสริมพัฒนาการผู้ใหญ่วัยกลางคน : บทบาทของพยาบาล
คำสำคัญ:
การส่งเสริม, พัฒนาการวัยผู้ใหญ่วัยกลางคน, บทบาทพยาบาลบทคัดย่อ
ผู้ใหญ่วัยกลางคน เป็นช่วงที่พัฒนาการด้านสติปัญญา อารมณ์ และสังคมสมบูรณ์ มีความรับผิดชอบต่อสังคมด้วยการเป็นพลเมืองดี อีกทั้งวัยนี้ยังเป็นกําลังของคนวัยสูงอายุ และยังต้องคำนึงถึงอนาคตของคนรุ่นเยาว์ จะเห็นว่าวัยนี้มีการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายที่เสื่อมถอย มีการปรับเปลี่ยนบทบาทใหม่มากมาย และขัดแย้งในบทบาทที่ตนเองทำอยู่ จึงอาจเกิดปัญหาสุขภาพ บทบาทของพยาบาลในการส่งเสริมพัฒนาการของผู้ใหญ่วัยกลางคน ประกอบด้วย การประเมินภาวะสุขภาพ การสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันปัญหาสุขภาพที่ครอบคลุมมิติทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม ดังนั้นพยาบาลควรมีความรู้ และความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะสุขภาพของบุคคลผู้ใหญ่วัยกลางคน เพื่อส่งเสริมพัฒนาการในทุกด้าน ดำรงไว้ซึ่งคุณภาพชีวิตและพร้อมปรับตัวเข้าสู่ผู้สูงวัยต่อไป
References
จารุวรรณ ต.สกุล. กระบวนการพยาบาลทางจิตสังคม. กรุงเทพฯ: เรือนแก้วการพิมพ์; 2532.
ประกาย จิโรจน์กุล, นิภา ลีสุคนธ์, เรณู ขวัญยืน, วันเพ็ญ แก้วปาน. การเตรียมตัวเพื่อเข้าสู่วัยกลางคนในเขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร [ออนไลน์]. 2560 [เข้าถึงเมื่อ 2565 พ.ย. 11]. เข้าถึงได้จาก: https://dric.nrct.go.th/Search/SearchDetail/290058
ศรีเรือน แก้วกังวาล. จิตวิทยาพัฒนาการชีวิตทุกช่วงวัย: วัยรุ่น-วัยสูงอายุ เล่ม 2. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์; 2553.
อุมาพร สุขารมณ์. จิตวิทยาพัฒนาการ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง; 2562.
อารยา ประเสริฐชัย. สุขภาพวัยผู้ใหญ่และวัยสูงอายุ. เอกสารการสอนชุดวิชาพัฒนาการของมนุษย์ และสุขภาพ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ หน่วยที่ 11-15. พิมพ์ครั้งที่ 8. นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช; 2561.
Havighurst R. Developmental Tasks and Education. 3rd ed. New York: David McKay. [อินเตอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 2566 ม.ค. 9]. เข้าถึงได้จาก: https://egyankosh.ac.in/bitstream/123456789/23374/1/Unit-2.pdf
ทิพย์ภา เชษฐ์เชาวลิต. จิตวิทยาพัฒนาการสำหรับพยาบาล. พิมพ์ครั้งที่ 3. สงขลา: ชานเมืองการพิมพ์; 2546.
กัลยา นาคเพ็ชร์, จุไร อภัยจิรรัตน์, สมพิศ ใยสุ่ม. จิตวิทยาพัฒนาการสำหรับพยาบาล. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยพยาบาสภากาชาดไทย; 2548.
Papalia D, Martorell G. Experience Human Development. 14th ed. New York: David McKay; 2021.
กองกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. รอบรู้...สุขภาพวัยทำงาน. นนทบุรี. โรงพิมพ์ คิวคัมเบอร์ (ประเทศไทย) จำกัด; 2562.
สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับประชาชน ฉบับปรับปรุง 2565. [อินเตอร์เน็ต]. 2565 [เข้าถึงเมื่อ 2565 พ.ย. 11]. เข้าถึงได้จาก: https://www.dms.go.th/Content/Select_Content_Grid_PDF?contentCategoryId=29
กองส่งเสริมศักยภาพผู้สูงอายุ กรมกิจการผู้สูงอายุ. เตรียมพร้อมก่อนสูงวัย. นนทบุรี. โรงพิมพ์อมรินทร์ พริ้นติ้ง แอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน); 2562.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารศูนย์อนามัยที่ 9 : วารสารส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความหรือข้อคิดเห็นใด ๆ ที่ประกฎในวารสารศูนย์อนามัยที่ 9 เป็นความคิดเห็นของผู้เขียน บรรณาธิการ คณะผู้จัดทำ และศูนย์อนามัยที่ 9 นครราชสีมา (เจ้าของ) ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย ผู้เขียนต้องรับผิดชอบต่อบทความของตนเอง
ผลการพิจารณาของกองบรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิถือเป็นที่สิ้นสุด คณะบรรณาธิการวารสารฯ ขอสงวนสิทธิ์ในการตรวจแก้ไขข้อความให้ถูกต้องตามหลักภาษาและมีความเหมาะสม
กองบรรณาธิการวารสารฯ ขอสงวนสิทธิ์มิให้นำเนื้อหาใด ๆ ของบทความ หรือข้อคิดเห็นใด ๆ ของผลการประเมินบทความในวารสารฯ ไปเผยแพร่ก่อนได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการ อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร และผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารศูนย์อนามัยที่ 9