ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรู้และทัศนคติเกี่ยวกับบุหรี่ไฟฟ้าของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

ผู้แต่ง

  • จิราภรณ์ จำปาจันทร์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
  • สิริวิมล ทะวงศ์นา สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
  • นิธิพร ยะคำสี สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
  • ภัทรินทร์ เมืองคง สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
  • นริศรา ขันตี สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
  • ณีรนุช วรไธสง สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
  • วิบูลย์สุข ตาลกุล สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
  • ภูวสิทธิ์ ภูลวรรณ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
  • อนุวัฒน์ สุรินราช สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

คำสำคัญ:

ความรู้, ทัศนคติ, บุหรี่ไฟฟ้า, นักศึกษา

บทคัดย่อ

การวิจัยเชิงสำรวจครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความรู้ และระดับทัศนคติเกี่ยวกับบุหรี่ไฟฟ้าของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัยครั้งนี้ได้แก่ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ชั้นปีที่ 1-5 ภาคปกติ ปีการศึกษา 2564 จำนวน 380 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่ตอบด้วยตนเอง ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ความรู้และทัศนคติเกี่ยวกับบุหรี่ไฟฟ้า สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยไคสแควร์และการทดสอบของฟิสเชอร์

ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีอายุเฉลี่ย 20.19 ปี (SD=1.16) โดยกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความรู้เกี่ยวกับบุหรี่ไฟฟ้าอยู่ในระดับมาก (gif.latex?\bar{X}=15.43 SD=3.06) และทัศนคติของกลุ่มตัวอย่างต่อบุหรี่ไฟฟ้า อยู่ในระดับปานกลาง (gif.latex?\bar{X}=2.35 SD=0.51) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับความรู้เกี่ยวกับบุหรี่ไฟฟ้า อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ได้แก่ เพศ และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับทัศนคติเกี่ยวกับบุหรี่ไฟฟ้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ได้แก่ คณะที่กำลังศึกษาและการได้รับความรู้เกี่ยวกับบุหรี่ไฟฟ้า จากการศึกษาในครั้งนี้ควรมีการสร้างความตระหนักเกี่ยวกับบุหรี่ไฟฟ้าให้กับนักศึกษาโดยเฉพาะผลกระทบด้านสุขภาพที่จะเกิดขึ้น

Author Biographies

จิราภรณ์ จำปาจันทร์, สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

สิริวิมล ทะวงศ์นา, สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

นักศึกษา

นิธิพร ยะคำสี, สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

นักศึกษา

ภัทรินทร์ เมืองคง, สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

นักศึกษา

นริศรา ขันตี, สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

นักศึกษา

ณีรนุช วรไธสง, สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

วิบูลย์สุข ตาลกุล, สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

อาจารย์

ภูวสิทธิ์ ภูลวรรณ, สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

อาจารย์

อนุวัฒน์ สุรินราช, สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

อาจารย์

References

รณชัย คงสกนธ์. บุหรี่ไฟฟ้าผิดกฎหมาย ป่วยหนัก ตายจริง. วารสารก้าวทันวิจัยกับศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.) [อินเตอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 2566 ม.ค. 20]; 12(1):4-6. เข้าถึงได้จาก: https://www.trc.or.th/th/attachments/article/394.

สำนักข่าว Hfocus. ศจย. เผยผลวิจัยกว่า 7,000 ชิ้นยืนยันผลกระทบบุหรี่ไฟฟ้า [อินเตอร์เน็ต]. นนทบุรี. กระทรวงสาธารณสุข; 2565 [เข้าถึงเมื่อ 2566 ก.พ. 10] เข้าถึงได้จาก: https://www.hfocus.org/content/2022/12/26661.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. การสำรวจพฤติกรรมด้านสุขภาพของประชากร พ.ศ. 2564. กรุงเทพฯ: กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม; 2564.

ชนิกา เจริญจิตต์กุล, ชฎาภา ประเสริฐทรง. บุหรี่ไฟฟ้า: ภัยเงียบของวัยรุ่น. วารสารพยาบาลทหารบก. 2557;15(3):149-14.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. การสำรวจพฤติกรรมด้านสุขภาพของประชากร พ.ศ. 2564. กรุงเทพฯ: กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม; 2564.

สำนักข่าว Hfocus. วัยรุ่นไทย” น่าห่วงร้อยละ 12.3 สูบบุหรี่ไฟฟ้า กว่า 2 ใน 3 สูบบุหรี่ไฟฟ้าเป็นผลิตภัณฑ์ยาสูบแรกของชีวิต. [อินเตอร์เน็ต]. 2565 เข้าถึงเมื่อ [2566 ก.พ. 10]. เข้าถึงได้จาก: https://www.hfocus.org/content/2022/06/25365

ณัฐพล รุ่งโรจน์สิทธิชัย. การรับรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรม ที่มีต่อบุหรี่ไฟฟ้า. [วิทยานิพนธ์วารสารศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการสื่อสารองค์กร]. กรุงเทพฯ. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์; 2560.

กิติพงษ์ เรือนเพ็ชร. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการสูบบุหรี่ไฟฟ้าของนักเรียนชายอาชีวศึกษา จังหวัดบุรีรัมย์. [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน]. ชลบุรี. มหาวิทยาลัยบูรพา; 2564.

สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน. [อินเตอร์เน็ต]. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร; 2565 [เข้าถึงเมื่อวันที่ 2565 ม.ค. 21]. เข้าถึงได้จาก: http://academic.snru.at.th

Yamane T. Statistics: An introductory analysis. 3rd ed. New York: Harper & Row; 1973.

Bloom BS, Hastings JT, Madaus GF. Handbook on Formative and Summative Evaluation of Student Learning. New York: McGraw-Hill; 1971.

กัลยา วิริยะ, ประภาพร ชูกำเนิด, อังศุมา อภิชาโต. ความรู้และทัศนคติเกี่ยวกับบุหรี่กับพฤติกรรมการสัมผัสบุหรี่ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. วารสารวิทยบริการ. 2562; 30: 66-74.

ทิพยรัตน์ บุญมา, บุญวัฒน์ สว่างวงศ์, วันจักร น้อยจันทร์. ทัศนคติของนักศึกษาต่อการสูบบุหรี่ อิเล็กทรอนิกส์และบุหรี่มวน. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 2564;9(1):202-15.

ศศิธร ชิดนายี. วราภรณ์ ยศทวี. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของวัยรุ่นจังหวัดอุตรดิตถ์. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุตรดิตถ์. 2561;10(1):83-93.

Good CV. Dictionary of Education. 3rd ed. New York: McGraw-Hill; 1973.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-05-09