ความกลัวการหกล้มในผู้สูงอายุ: การพยาบาลโดยการใช้แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ

ผู้แต่ง

  • ธันยาวดี โกวศัลย์ดิลก คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชธานี
  • พรรณงาม วรรณพฤกษ์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
  • พิสมัย เจริญวัย คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชธานี
  • พัชรา กะทุ่งกาง คณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยบัณฑิตเอเชีย

คำสำคัญ:

ความกลัวการหกล้ม, ผู้สูงอายุ, แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ

บทคัดย่อ

ความกลัวการหกล้มในผู้สูงอายุเป็นภาวะที่ผู้สูงอายุรับรู้ความมั่นใจในการทรงตัวและการเคลื่อนไหวของตนเองในระดับต่ำ ทำให้เกิดความไม่มั่นใจในการทำกิจกรรม เป็นกลุ่มอาการที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ ทำให้ผู้สูงอายุเกิดความวิตกกังวล หลีกเลี่ยงการทำกิจกรรมเนื่องจากกลัวการหกล้มซ้ำ บางรายที่มีความกลัวการหกล้มมากเกินไปจะทำให้เกิดการแยกตัวจากสังคม หลีกเลี่ยงการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น มีภาวะซึมเศร้า นอกจากนี้
ยังทำให้เกิดการหกล้มซ้ำเป็นวงจร และสูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลหลังการหกล้มตามมา พยาบาลมีบทบาทสำคัญในการประเมินความกลัวการหกล้ม และลดความกลัวการหกล้มในผู้สูงอายุ เพื่อป้องกันผลกระทบจากความกลัวการหกล้ม บทความนี้ ผู้เขียนมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอปัญหาความรุนแรงของความกลัวการหกล้มในผู้สูงอายุ และนำเสนอการพยาบาลเพื่อป้องกันวงจรการหกล้มจากความกลัวการหกล้ม โดยนำทฤษฎีแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพมาประยุกต์ใช้เพื่อลดความกลัวการหกล้ม และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้สูงอายุในการป้องกันการหกล้ม

Author Biographies

ธันยาวดี โกวศัลย์ดิลก, คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชธานี

อาจารย์

พรรณงาม วรรณพฤกษ์, คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

อาจารย์

พิสมัย เจริญวัย, คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชธานี

อาจารย์

พัชรา กะทุ่งกาง, คณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยบัณฑิตเอเชีย

อาจารย์

References

กองป้องกันการบาดเจ็บ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. การพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ สาเหตุและการป้องกัน. 2561 [เข้าถึงเมื่อ 2566 พ.ค. 4]. เข้าถึงได้จาก: https://ddc.moph.go.th/uploads/publish/1037120200813042821.pdf

สถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุ. ภาวะหกล้มในผู้สูงอายุไทย. 2552 [เข้าถึงเมื่อ 2566 พ.ค. 4]. เข้าถึงได้จาก: http://agingthai.dms.go.th/agingthai/wp-content/uploads/2021/01/book_3.pdf

de Souza AQ, Pegorari MS, Nascimento JS, de Oliveira PB, dos Santos Tavares DM. Incidence and predictive factors of falls in community-dwelling elderly: a longitudinal study. Cienc Saude Colet 2019;24(9):3507-16.

กรรณิกา ตรีคำ, นัยนา พิพัฒน์วณิชชา, พรชัย จูลเมตต์. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความกลัวการหกล้มของผู้ป่วยสูงอายุที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล. งานประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยรังสิต ประจำปี 2562; 26 เมษายน 2562; มหาวิทยาลัยรังสิต. 2562: 54-66.

Gazibara T, Kurtagic I, Kisic-Tepavcevic D, Nurkovic S, Kovacevic N, Gazibara T, et al. Falls, risk factors and fear of falling among persons older than 65 years of age. Psychogeriatrics. 2017;17(4):215–23.

วลัยภรณ์ อารีรักษ์. ความกลัวการหกล้มของผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในชุมชน. การประชุมนำเสนอผลงานวิจัยบัณฑิตศึกษาระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ครั้งที่ 10 ประจำปีการศึกษา 2559; มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี. 2559: 2180-90.

Woongpanitkul K. Factors related to fear of falling among community-dwelling older adults in Kanchanaburi province. [Master Thesis in Gerontological Nursing]. Chonburi: Burapha University; 2012.

ทิพย์รัตน์ ผลอินทร์, นารีรัตน์ จิตรมนตรี, และวิราพรรณ วิโรจน์รัตน์. ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ภาวะสุขภาพ ความกลัวการหกล้ม และพฤติกรรมป้องกันการหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชน. วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2560; 29(1):36-50.

E JY, Mihailovic A, Kuo Pl, West SK, Friedman DS, Gitlin LN, et al. Characterizing the Impact of Fear of Falling on Activity and Falls in Older Adults with Glaucoma. J Am Geriatr Soc. 2021;68(8):1847-51.

Choi K, Jeon GS, Cho SI. Prospective study on the impact of fear of falling on functional decline among community dwelling elderly women. Int J Environ Res Public Health. 2017;14(5):469.

Chang HT, Chen HC, Chou P. Factors associated with fear of falling among community-dwelling older adults in the Shih-Pai study in Taiwan. PLoS ONE 2016;11:e0150612.

พัชรินทร์ พรหมเผ่า. การเปรียบเทียบสมรรถภาพทางกายระหว่างสตรีวัยหลังหมดระดู ที่กลัวและไม่กลัวการล้ม. วารสารศูนย์อนามัยที่ 9. 2566;17(1):195-206.

Chang HT, Chen HC, Chou P. Fear of falling and mortality among community-dwelling older adults in the Shi-Pi study in Taiwan: a longitudinal follow-up study. Geriatr Gerontol Int 2017;17(11):2216-23.

วะนิดา น้อยมนตรี. ความกลัวการหกล้ม: กลุ่มอาการที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ และบทบาทของพยาบาลโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 2561;26(3):92-101.

สุทธิดา พงษ์พันธ์งาม, อัมภิชา นาไวย์. การหกล้ม ความกลัวการหกล้ม และการจำกัดกิจกรรมเนื่องจากกลัวหกล้มในผู้สูงอายุไทยที่อาศัยอยู่ในชุมชนชานเมืองเชียงใหม่. วารสารวิจัยสุขภาพและการพยาบาล 2563;36(1):22-38.

ลลิดา ปักเขมายัง. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความกลัวการหกล้มของผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อม. วารสารสุขภาพและการศึกษา. 2564;27(1):166-81.

พรรณงาม วรรณพฤกษ์, นัยนา พิพัฒน์วณิชชา, พรชัย จูลเมตต์. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความกลัวการหกล้มของผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ตามลำพัง. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการแพทย์บูรพาครั้งที่ 5 ประจำปี พ.ศ. 2561 ภายใต้แนวคิด “การแพทย์ก้าวไกลใน EEC” ระหว่างวันที่ 3–4 กันยายน พ.ศ. 2561 ณ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา บางแสน จ.ชลบุรี; 2561 หน้า 11-26.

Mendes da Cota E, Pepersack T, Godin I, Bantuelle M, Petit B, Leveque A. Fear of falling and associated activity restriction in older people. Results of a cross-sectional study conducted in Belgian town. Archives of Public Health 2012;70(1).

Dierking L, Markides K, Snih SA, Peek MK. Fear of falling in older Mexican Americans: a longitudinal study of incidence and predictive factors. J Am Geriatr Soc 2016;64(12):2560-5.

Hoang OTT, Jullamate P, Piphatvanitcha N, Rosenberg E. Factors related to fear of falling among community-dwelling older adults. JCN 2017;26(1-2):68-76.

Park Y, Paik NJ, Kim KW, Jang HC, Lim JY. Depressive symptoms, falls, and fear of falling in old Korean adults: the Korean Longitu¬dinal Study on Health and Aging (KLoSHA). The Journal of frailty & aging 2017;6(3):144–7.

Jeon M, Gu MO, Yim JE. Comparison of Walking, Muscle Strength, Balance, and Fear of Falling Between Repeated Fall Group, One-time Fall Group, and Nonfall Group of the Elderly Receiving Home Care Service. Asian Nursing Research 2017;11(4):209-96.

Zali M, Farhadi A, Soleimanifar M, allameh H, Janani L. Loneliness, fear of falling, and quality of life in community-dwelling older women who live alone and live with others. Educational Gerontology 2017;43(11):582-8.

Kumar A, Carpenter H, Morris R, Iliffe S, Kendrick D. Which factors are associated with fear of falling in community-dwelling older people? Age and Ageing. 2014;43(1):76-84.

เบญญาภา ศรีปัญญา, ฉัตรชัย พีระวัธน์กุล. ความกลัวการหกล้มในผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มีและไม่มีภาวะปลายประสาทเสื่อม. ศรีนครินทร์เวชสาร. 2563;35(4):445-50.

อัจฉราวรรณ รัตน์มณี, นัยนา พิพัฒน์วณิชชา. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความกลัวการหกล้มของผู้สูงอายุ โรคหลอดเลือดสมอง. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชชนนี กรุงเทพ. 2560;33(1):63-76.

อนันต์ศักดิ์ จันทรศรี, นัยนา พิพัฒน์วณิชา, พรชัย จูลเมตต์. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความกลัวการหกล้มของผู้สูงอายุโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง. งานประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยรังสิต ประจำปี 2562; 26 เมษายน 2562 หน้า 30-42.

Kvelde T, Pijnappels M, Delbaere K, Close JCT, Lord SR. Physiological and Cognitive Mediators for the Association Between Self-reported Depressed Mood and Impaired Choice Stepping Reaction Time in Older People. Journal of Gerontology: Medical sciences 2013;65A(5):538-44.

Makino K, Makizako H, Doi T, Tsutsumimoto K, Hotta R, Nakakubo S, Suzuki T, Shimada H. Fear of falling and gait parameters in older adults with and without fall history. Geriatrics and Gerontology International. 2017;17(12):2455-9.

ลักษณา มะรังกา, จิราพร เกศพิชญวัฒนา. ประสบการณ์ความกลัวต่อการหกล้มของผู้สูงอายุ. วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2555;24(3):29-41.

สถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุ. แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ. พิมพ์ครั้งที่ 1. นนทบุรี: สินทวีการพิมพ์; 2562.

Strecher VJ, Rosenstock IM. Health Behavior and Health Education: Theory, Research, and Practice (2nded). San Francisco: Jossey-Bass 1997.

อาภาพร เผ่าวัฒนา, สุรินธร กลัมพากร, สุนีย์ ละกำปั่น, ขวัญใจ อำนาจซื่อสัตย์. การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในชุมชน: การประยุกต์แนวคิดและทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 1. ขอนแก่น: โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา; 2554.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-07-12