การจัดการความเจ็บปวดโดยไม่ใช้ยาในทารกคลอดก่อนกำหนดก่อนการเจาะเลือดส้นเท้า หรือการเปิดหลอดเลือดดำส่วนปลาย
คำสำคัญ:
การจัดการความปวด, ทารกคลอดก่อนกำหนด, การเจาะเลือดส้นเท้า, การเปิดหลอดเลือดดำส่วนปลายบทคัดย่อ
ทารกคลอดก่อนกำหนดมีโอกาสได้สัมผัสกับความเจ็บปวดจากการทำหัตถการได้บ่อยครั้งและต่อเนื่องตามแผนการรักษาของแพทย์ตั้งแต่แรกเกิดจนกระทั่งจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล แต่อย่างไรก็ตาม การแสดงออกซึ่งความเจ็บปวดของทารกคลอดก่อนกำหนดนั้น บางครั้งยากแก่การประเมิน จึงมักถูกละเลยไป ผลของความเจ็บปวดในแต่ละครั้งที่ทารกคลอดก่อนกำหนดได้รับจากการทำหัตถการ โดยเฉพาะการเจาะเลือดส้นเท้าหรือการเปิดหลอดเลือดดำส่วนปลาย ซึ่งเป็นหัตถารที่พบได้บ่อยในทารกคลอดก่อนกำหนด ก่อให้เกิดผลเสีย ทำให้ทารกคลอดก่อนกำหนดได้รับความเจ็บปวดและผลเสียในระยะยาว ต่อพัฒนาการทางด้านจิตใจ อารมณ์ รวมทั้งส่งกระทบต่อการเรียนในอนาคตได้
ดังนั้นผู้เขียนจึงมุ่งหวังในการนำเสนอแนวทางการลดความเจ็บปวดโดยไม่ใช้ยา ซึ่งเป็นบทบาทอิสระของพยาบาลที่สามารถนำไปพิจารณาใช้เพื่อช่วยลดความเจ็บปวดให้กับทารกคลอดก่อนกำหนดตามความเหมาะสมของทารกคลอดก่อนกำหนดแต่ละราย
References
Barker DP, Rutter N. Exposure to invasive procedures in neonatal intensive care unit admissions. Arch Dis Child Fetal Neonatal Ed. 1995 Jan;72(1):F47-8. doi: 10.1136/fn.72.1.f47.
Mitchell A, Boss BJ. Adverse effects of pain on the nervous systems of newborns and young children: a review of the literature. J Neurosci Nurs. 2002 Oct;34(5):228-36. doi: 10.1097/01376517-200210000-00002.
Krishnan L. Pain relief in neonates. J Neonatal Surg. 2013 Apr 1;2(2):19. PMID: 26023439; PMCID: PMC4420379.
Costa T, Rossato LM, Bueno M, Secco IL, Sposito NP, Harrison D, Freitas JS. Nurses' knowledge and practices regarding pain management in newborns. Rev Esc Enferm USP. 2017 Apr 6;51:e03210. English, Portuguese. doi: 10.1590/S1980-220X2016034403210.
Phillips RM, Chantry CJ, Gallagher MP. Analgesic effects of breast-feeding or pacifier use with maternal holding in term infants. Ambul Pediatr. 2005 Nov-Dec;5(6):359-64. doi: 10.1367/A04-189R.1.
Kim J, Choi SJ. Effect of Olfactory Stimulation with Breast Milk on Pain Responses to Heel Stick in Premature Infants: A Randomized Controlled Trial. Breastfeed Med. 2022 Jul;17(7):605-610. doi: 10.1089/bfm.2021.0374.
Badiee Z, Asghari M, Mohammadizadeh M. The calming effect of maternal breast milk odor on premature infants. Pediatr Neonatol. 2013 Oct;54(5):322-5. doi: 10.1016/j.pedneo.2013.04.004.
Mangat AK, Oei JL, Chen K, Quah-Smith I, Schmölzer GM. A Review of Non-Pharmacological Treatments for Pain Management in Newborn Infants. Children (Basel). 2018 Sep 20;5(10):130. doi: 10.3390/children5100130.
Us MC, Saran MG, Cebeci B, Akkuş E, Şeker E, Aybar ŞSŞ. A Randomized Comparative Effectiveness Study of Reflexology, Sucrose, and Other Treatments for Needle Procedures in Newborns. Pediatr Neurol. 2023 Mar;140:78-85. doi: 10.1016/j.pediatrneurol.2022.11.019.
Gomes Neto M, da Silva Lopes IA, Araujo ACCLM, Oliveira LS, Saquetto MB. The effect of facilitated tucking position during painful procedure in pain management of preterm infants in neonatal intensive care unit: a systematic review and meta-analysis. Eur J Pediatr. 2020 May;179(5):699-709. doi: 10.1007/s00431-020-03640-5.
ประทุมวดี เถาบุญ, ทิพวัลย์ ดารามาศ, ชื่นฤดี คงศักดิ์ตระกูล. ผลของการใช้มือโอบตัวทารกต่อการตอบสนองความปวดจากการเจาะเลือดบริเวณส้นเท้าในทารกเกิดก่อนกำหนด. รามาธิบดีพยาบาลสาร.2563;26(1):18-30.
Elserafy FA, Alsaedi SA, Louwrens J, Bin Sadiq B, Mersal AY. Oral sucrose and a pacifier for pain relief during simple procedures in preterm infants: a randomized controlled trial. Ann Saudi Med. 2009 May-Jun;29(3):184-8. doi: 10.4103/0256-4947.52821.
Mangat AK, Oei JL, Chen K, Quah-Smith I, Schmölzer GM. A Review of Non-Pharmacological Treatments for Pain Management in Newborn Infants. Children (Basel). 2018 Sep 20;5(10):130. doi: 10.3390/children5100130.
Melzack R, Wall PD. Pain mechanisms: a new theory. Science. 1965 Nov 19;150(3699):971-9. doi: 10.1126/science.150.3699.971.
Küçüktepe A, Canbulat Şahiner N. The effect of regional massage performed before blood collection on pain and vital signs in newborns. J Paediatr Child Health. 2023;59(4):660-6. doi: 10.1111/jpc.16368.
พิชญาภา พาเชื้อ, ทิพวัลย์ ดารามาศ, เรณู พุกบุญมี. ผลของการนวดขาและเท้าต่อความปวด อัตราการเต้นของหัวใจ และค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดในทารกเกิดก่อนกำหนดที่ได้รับการเจาะเลือดบริเวณส้นเท้า. รามาธิบดีพยาบาลสาร.2561;24(3):279-94.
Lan HY, Yang L, Lin CH, Hsieh KH, Chang YC, Yin T. Breastmilk as a Multisensory Intervention for Relieving Pain during Newborn Screening Procedures: A Randomized Control Trial. Int J Environ Res Public Health. 2021 Dec 10;18(24):13023. doi: 10.3390/ijerph182413023.
Erdoğan Ç, Çamur Z. The Impact of Breast Milk Taste and Smell in Reducing Pain in Infants Undergoing Blood Drawing Procedure: A Randomized Controlled Study. Breastfeed Med. 2022 Aug;17(8):673-677. doi: 10.1089/bfm.2022.0055.
Cignacco EL, Sellam G, Stoffel L, Gerull R, Nelle M, Anand KJ, Engberg S. Oral sucrose and "facilitated tucking" for repeated pain relief in preterms: a randomized controlled trial. Pediatrics. 2012 Feb;129(2):299-308. doi: 10.1542/peds.2011-1879.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารศูนย์อนามัยที่ 9 : วารสารส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความหรือข้อคิดเห็นใด ๆ ที่ประกฎในวารสารศูนย์อนามัยที่ 9 เป็นความคิดเห็นของผู้เขียน บรรณาธิการ คณะผู้จัดทำ และศูนย์อนามัยที่ 9 นครราชสีมา (เจ้าของ) ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย ผู้เขียนต้องรับผิดชอบต่อบทความของตนเอง
ผลการพิจารณาของกองบรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิถือเป็นที่สิ้นสุด คณะบรรณาธิการวารสารฯ ขอสงวนสิทธิ์ในการตรวจแก้ไขข้อความให้ถูกต้องตามหลักภาษาและมีความเหมาะสม
กองบรรณาธิการวารสารฯ ขอสงวนสิทธิ์มิให้นำเนื้อหาใด ๆ ของบทความ หรือข้อคิดเห็นใด ๆ ของผลการประเมินบทความในวารสารฯ ไปเผยแพร่ก่อนได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการ อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร และผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารศูนย์อนามัยที่ 9