การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุด้วยการฝังเข็ม

ผู้แต่ง

  • ศญาดา ด่านไทยวัฒนา คณะสหเวชศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา
  • วันฉัตร โสฬส คณะสหเวชศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา
  • Weixiang Yuan คณะสหเวชศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา

คำสำคัญ:

โรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ, การฝังเข็ม, การรักษา

บทคัดย่อ

โรคข้อเข่าเสื่อมเป็นโรคที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ ที่มีอายุมากกว่า 65 ปีขึ้นไป และมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น โรคข้อเข่าเสื่อมไม่เพียงแต่จะส่งผลกระทบต่อสุขภาพด้านร่างกายเท่านั้น ยังส่งผลทั้งทางด้านจิตใจ และด้านเศรษฐกิจและสังคมอีกด้วย เนื่องจากผู้สูงอายุที่เป็นโรคข้อเข่าเสื่อมจะไม่สามารถดำเนินชีวิตได้ตามปกติ ในด้านร่างกาย ไม่สามารถที่จะเดินหรือลุกนั่งได้สะดวกจากอาการเจ็บปวดและเสี่ยงต่อการเกิดโรคแทรกซ้อนอื่นๆ ตามมา ในด้านจิตใจ ส่งผลให้เกิดภาวะเครียดจากการที่ร่างกายไม่สามารถใช้งานได้ตามปกติ และด้านจิตใจยังสัมพันธ์กับด้านเศรษฐกิจและสังคมอีกด้วย เนื่องจากต้องมีคนดูแลและค่าใช้จ่ายในการรักษา ส่งผลให้เกิดความเครียดตามมาได้

บทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นแนวทางในการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุด้วยวิธีการรักษาตามศาสตร์การแพทย์แผนจีน โดยวิธีการฝังเข็ม เนื่องจากการฝังเข็มเป็นการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมอีกรูปแบบหนึ่งซึ่งยังไม่เป็นที่รู้จักในประเทศไทยมากนัก โดยเป็นการรักษาแบบไม่ใช้ยาและมีผลข้างเคียงค่อนข้างต่ำ จึงเป็นวิธีการรักษาอย่างหนึ่งที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ

Author Biographies

ศญาดา ด่านไทยวัฒนา, คณะสหเวชศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา

อาจารย์ประจำสาขาวิชาการแพทย์แผนจีน

วันฉัตร โสฬส, คณะสหเวชศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา

อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกำลังกาย

Weixiang Yuan, คณะสหเวชศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา

อาจารย์ประจำสาขาวิชาการแพทย์แผนจีน

References

ณัฐพงศ์ วงศ์วิวัฒน์. ข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ รักษาได้ ก่อนสายเกิน. สำนักสารนิเทศ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข [อินเทอร์เน็ต]. 2565 [เข้าถึงเมื่อ 2566 ก.ย. 3] . เข้าถึงได้จาก: https://pr.moph.go.th/index.php?url=pr/detail/2/02/182512/

ปรานปวีณ์ โรจน์เจริญงาม. ผลการรักษาผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมโดยการฉีดพลาสม่าที่อุดมด้วยเกล็ดเลือดในจังหวัดนครศรีธรรมราช. มหาราชนครศรีธรรมราชเวชสาร. 2565;5(2):13-20.

Zhongying Z, Traditional Chinese Medicine Internal Medicine. Beijing, China: Zhongguo zhongyiyao; 2008.

สมาคมรูมาติสซั่มแห่งประเทศไทย. แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม [อินเทอร์เน็ต]. 2565 [เข้าถึงเมื่อ 2566 ก.ย. 3] . เข้าถึงได้จาก: https://thairheumatology.org/phocadownload/36/Guideline_003.pdf

วรวิทย์ เลาห์เรณู และคณะ. โรคข้อเสื่อม. กรุงเทพฯ: ธนบรรณการพิมพ์; 2546.

ฉัตรสุดา กานกายันต์, อภิรดี เจริญนุกูล, วิทยา วาโย. การชะลอการเกิดข้อเข่าเสื่อมก่อนเข้าสู่วัยสูงอายุ. วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางการพยาบาล. 2563;26(1):5-17.

วิโรจน์ กวินวงศ์โกวิท. กระดูกและข้อดูแลได้. นิตยสารวาไรตี้เพื่อสุขภาพ@Rama [อินเทอร์เน็ต]. 2558 [เข้าถึงเมื่อ 2566 ก.ย. 4]; (21). เข้าถึงได้จาก: https://www.rama.mahidol.ac.th/atrama/sites/default/files/public/issue/pdf/full/atRama21.pdf

กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข.ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: สำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์; 2551.

Mei L. Traditionnal Chinese Medicine Internal Medicine. Beijing,China: Zhongguo zhongyiyao; 2018.

โกวิท คัมภีรภาพ. ยาจีน. กรุงเทพ: พิมพ์ดี; 2551.

Zaijun X. Evaluation of Curative Effect of Acupuncture and Moxibustion on 78 Cases of Knee Osteoarthritis. Traditional Chinese Medicine Clinical Research. 2014;6:50-1.

Jue W. Clinical Observation on Treating Knee Osteoarthritis with Acupuncture at Five Acupoints Behind the Knee [Dissertation]. Fuzhou: Fujian University of Traditional Chinese Medicine; 2014.

Wenhu W, Tang J. Modern Rehabilitation Evaluation of the Curative Effect of Electroacupuncture at Knee Eye Points for Knee Osteoarthritis. Shanghai Journal of Traditional Chinese Medicine. 2015;49(6):63-5.

Lixing W. Clinical study on fire acupuncture combined with electroacupuncture in the treatment of knee osteoarthritis [Dissertation]. Guangzhou: Fujian University of Traditional Chinese Medicine; 2016.

Rui W, Huaxin H, Jun Z. Clinical Observation on 60 Cases of Degenerative Knee Arthritis Treated by Warming Needle Moxibustion and Cupping. Heilongjiang Traditional Chinese Medicine. 2006;49(5):40-1.

Xianjin H. Observation on curative effect of acupuncture and moxibustion combined with rehabilitation guidance in the treatment of knee osteoarthritis. Guide to Traditional Chinese Medicine in China. 2014;12(36):235-6.

Lixing Z, Yanxing H, Wenran T. Efficacy evaluation of acupuncture combined with rehabilitation guidance in the treatment of knee osteoarthritis. Clinical Rehabilitation in China. 2005;9(31):149-51.

Sai M. Clinical Observation on the Treatment of Knee Osteoarthritis Using Giant Needles Combined with Functional Exercise [Dissertation]. Fuzhou: Fujian University of Traditional Chinese Medicine; 2008.

กีรติ เจริญชลวานิช. รู้จักโรคข้อเข่าเสื่อม อาการ สาเหตุ พร้อมแนวทางการรักษาอย่างถูกวิธี [อินเทอร์เน็ต]. 2565 [เข้าถึงเมื่อ 2566 ก.ย. 3]. เข้าถึงได้จาก: https://www.phyathai.com/th/article/3784-รู้จักโรคข้อเข่าเสื่อม

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-10-26