เบรกซ์พิพราโซล ยาชนิดใหม่ในกลุ่มยารักษาโรคจิตรุ่นที่สาม
คำสำคัญ:
เบรกซ์พิพราโซล, ยารักษาโรคจิตเภทรุ่นที่สาม, ยาต้านโรคจิตเภทบทคัดย่อ
เบรกซ์พิพราโซล เป็นยารักษาโรคจิตรุ่นที่สาม (third-generation antipsychotic agent) ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนโดยองค์การอาหารและยาแห่งประเทศสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 2015 สำหรับรักษาโรคจิตเภท และโรคซึมเศร้าโดยใช้เป็นยาเสริม มีโครงสร้างทางเคมีและฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาคล้ายคลึงกับอะริพิพราโซล โดยกลไกการออกฤทธิ์ที่สำคัญคือ serotonin-dopamine activity modulator และมีความสามารถในการจับตัวรับ 5-HT1A, α1B, D2, 5-HT2A และ α2C ได้สูงกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับอะริพิพราโซล นอกจากนี้ยังมีความสามารถในการกระตุ้นตัวรับ D2 ได้ต่ำกว่าอะริพิพรา–โซล และมีคุณสมบัติเป็น antimuscarinic ต่ำ จากการทบทวนวรรณกรรมพบว่า เบรกซ์พิพราโซลมีประสิทธิผลในการลดอาการด้านบวก และอาการด้านลบได้ดีไม่ด้อยกว่าอะริพิพราโซล นอกจากนี้การศึกษาบางฉบับรายงานว่า เบรกซ์พิพราโซลสามารถลดการหุนหันพลันแล่นและช่วยให้ผู้ป่วยมีหน้าที่เชิงสังคมได้ดีกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับอะริพิพราโซล สำหรับอาการไม่พึงประสงค์ที่พบบ่อยของเบรกซ์พิพราโซล คือความเสี่ยงในด้านหัวใจและเมแทบอลิก รวมถึงน้ำหนักตัวเพิ่ม ระดับไตรกลีเซอไรด์และน้ำตาลในเลือดสูง อย่างไรก็ตาม พบ extrapyramidal symptoms (EPS) และภาวะโปรแลคตินในเลือดสูงได้น้อย อีกทั้งพบรายงานอาการกระวนกระวายน้อยกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับอะริพิพราโซล ส่งผลให้ผู้ป่วยมีความทนต่อยาสูง ดังนั้นเบรกซ์พิพราโซลจึงเป็นทางเลือกสำหรับผู้ป่วยโรคจิตเภทที่มีอาการด้านบวก ด้านลบ และอาการด้านการรู้คิด รวมไปถึงผู้ป่วยที่ไม่สามารถทนต่ออาการข้างเคียง EPS และภาวะโปรแลคตินในเลือดสูงจากยารักษาโรคจิตชนิดอื่นได้
References
Ashok AH, Baugh J, Yeragani VK. Paul Eugen Bleuler and the origin of the term schizophrenia (SCHIZOPRENIEGRUPPE). Indian J Psychiatry. 2012;54(1):95–6.
Fischer BA, Buchanan RW. Schizophrenia in adults: Epidemiology and pathogenesis [Internet]. UpToDate. 2021 [cited 2021 Jun 18]. Available from: https://www.uptodate.com/contents/schizophrenia-in-adults-epidemiology-and-pathogenesis
มาโนช หล่อตระกูล. บทที่ 11 โรคจิตเภทและโรคอื่นๆ. ใน มาโนช หล่อตระกูล, ปราโมทย์ สุคนิชย์, บรรณาธิการ. จิตเวชศาสตร์ รามาธิบดี. ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: ภาควิชาจิตเวชศาสตร์คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล; 2558. หน้า 129-54.
Crismon ML, Argo TR, Buckley PF. Schizophrenia. In: DiPiro JT, Talbert RL, Yee GC, Matzke GR, Wells BG, Posey LM, editors. Pharmacotherapy: a pathophysiological approach. 9th ed. New York: McGraw-Hill Education; 2014. p.1019-45.
Stahl SM. Psychosis and schizophrenia. In: Stahl SM. Stahl’s Essential Psychopharmacology: Neuroscientific basic and practical applications. 4th ed. New York: Cambridge university press; 2013: 79-128.
ถนอมพงษ์ เสถียรลัคนา. Pharmacotherapy of schizophrenia. ศูนย์การศึกษาต่อเนื่องทางเภสัชศาสตร์ สภาเภสัชกรรม [อินเทอร์เน็ต]. 2559 [เข้าถึงเมื่อ 9 ธันวาคม 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://ccpe.pharmacycouncil.org/index.php?option=article_detail&subpage=article_detail&id=161
American Psychiatric Association. Diagnostic and statistical manual of mental disorders, 5th edition (DSM-5). Washington, DC: American Psychiatric Publishing; 2013.
Morrison AK. Cognitive behavior therapy for people with schizophrenia. Psychiatry (Edgmont). 2009;6(12):32–9.
Divac N, Prostran M, Jakovcevski I, Cerovac N. Second-generation antipsychotics and extrapyramidal adverse effects. Biomed Res Int. 2014;2014:656370. doi:10.1155/2014/656370
Neuroscience Education Institute. Receptor Binding Profiles of Atypical Antipsychotics: Mechanisms of Therapeutic Actions and Adverse Side Effects [Internet]. 2012. [cited 2021 Jun 18]. Available from: http://cdn.neiglobal.com/content/practiceres/posters/50188_nei_009_bindings.pdf
Murray RM, Quattrone D, Natesan S, van Os J, Nordentoft M, Howes O, et al. Should psychiatrists be more cautious about the long-term prophylactic use of antipsychotics? Br J Psychiatry. 2016;209(5):361–5.
Uçok A, Gaebel W. Side effects of atypical antipsychotics: a brief overview. World Psychiatry. 2008;7(1):58–62.
Brexpiprazole [package insert]. Tokyo: Otsuka Pharmaceutical Co., Ltd.; 2018.
Wong DF, Raoufinia A, Bricmont P, Brašić JR, McQuade RD, Forbes RA, et al. An open-label, positron emission tomography study of the striatal D2/D3 receptor occupancy and pharmacokinetics of single-dose oral brexpiprazole in healthy participants. Eur J Clin Pharmacol. 2021;77(5):717–25.
Stahl SM. Mechanism of action of brexpiprazole: Comparison with aripiprazole. CNS Spectr. 2016;21(1):1–6.
Citrome L. The ABC’s of dopamine receptor partial agonists - aripiprazole, brexpiprazole and cariprazine: The 15-min challenge to sort these agents out. Int J Clin Pract [Internet]. 2015;69(11):1211–20.
Meesawatsom P. The ABC’s of Dopamine Receptor Partial Agonists. ในการประชุมวิชาการความก้าวหน้าทางเภสัชวิทยาของยาใหม่ ครั้งที่ 19; วันที่ 11 มิถุนายน 2564; ณ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. กรุงเทพมหานคร; 2564.
Kane JM, Skuban A, Ouyang J, Hobart M, Pfister S, McQuade RD, et al. A multicenter, randomized, double-blind, controlled phase 3 trial of fixed-dose brexpiprazole for the treatment of adults with acute schizophrenia. Schizophr Res. 2015;164(1–3):127–35.
Correll CU, Skuban A, Ouyang J, Hobart M, Pfister S, McQuade RD, et al. Efficacy and safety of brexpiprazole for the treatment of acute schizophrenia: A 6-week randomized, double-blind, placebo-controlled trial. Am J Psychiatry. 2015;172(9):870–80.
Meade N, Shi L, Meehan SR, Weiss C, Ismail Z. Efficacy and safety of brexpiprazole in patients with schizophrenia presenting with severe symptoms: Post-hoc analysis of short- and long-term studies. J Psychopharmacol. 2020;34(8):829–38.
Citrome L, Ota A, Nagamizu K, Perry P, Weiller E, Baker RA. The effect of brexpiprazole (OPC-34712) and aripiprazole in adult patients with acute schizophrenia: Results from a randomized, exploratory study. Int Clin Psychopharmacol. 2016;31(4):192–201.
Kishi T, Ikuta T, Matsuda Y, Sakuma K, Iwata N. Aripiprazole vs. brexpiprazole for acute schizophrenia: A systematic review and network meta-analysis. Psychopharmacology (Berl). 2020;237(5):1459–70.
Leucht S, Corves C, Arbter D, Engel RR, Li C, Davis JM. Second-generation versus first-generation antipsychotic drugs for schizophrenia: a meta-analysis. Lancet. 2009;373:31-41.
Stahl SM. Stahl's essential psychopharmacology: Prescriber's guide. 6th ed. New York: Cambridge university press; 2017.
Brexpiprazole: Drug information [Internet]: Micromedex. [cited 2021 Dec 9]. Available from: http://www.micromedexsolutions.com
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล(ประเทศไทย)
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อความภายในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารเภสัชกรรมโรงพยาบาลทั้งหมด รวมถึงรูปภาพประกอบ ตาราง เป็นลิขสิทธิ์ของสมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) การนำเนื้อหา ข้อความหรือข้อคิดเห็น รูปภาพ ตาราง ของบทความไปจัดพิมพ์เผยแพร่ในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ ต้องได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการวารสาร (สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย)) อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร
สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) อนุญาตให้สามารถนำไฟล์บทความไปใช้ประโยชน์และเผยแพร่ต่อได้ โดยอยู่ภายใต้เงื่อนไขสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอน (Creative Commons License: CC) โดย ต้องแสดงที่มาจากวารสาร – ไม่ใช้เพื่อการค้า – ห้ามแก้ไขดัดแปลง, Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)
ข้อความที่ปรากฏในบทความในวารสารเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) และบุคลากรในสมาคมฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเอง ตลอดจนความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความเป็นของผู้เขียน ไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการ