โคลชิซินเหนี่ยวนำให้เกิดอาการปลายประสาทอักเสบในผู้ป่วยปลูกถ่ายหัวใจที่มีภาวะไตวายเรื้อรัง: รายงานกรณีศึกษา
คำสำคัญ:
การปลูกถ่ายหัวใจ, โคลชิซิน, peripheral neuropathy, อันตรกิริยาระหว่าง tacrolimus และ โคลชิซิน, อาการไม่พึงประสงค์จากโคลชิซินบทคัดย่อ
โคลชิซิน เป็นยาที่มีช่วงการรักษาแคบ ถูกเปลี่ยนสภาพโดยเอนไซม์ CYP3A4 จึงต้องระวังการเกิดอันตรกิริยาระหว่างยา และต้องปรับขนาดยาตามการทำงานของไต ผลข้างเคียงที่พบได้บ่อย คือ ท้องเสีย ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน และที่พบน้อยแต่รุนแรง ได้แก่ ภาวะกดไขกระดูก, myopathy และ peripheral neuropathy บทความนี้นำเสนอกรณีศึกษา ผู้ป่วยชายไทย อายุ 46 ปี ได้รับการปลูกถ่ายหัวใจ เป็นโรคเกาต์ และโรคไตเรื้อรัง ได้รับโคลชิซิน 1.2 มิลลิกรัม/วัน 2 วันต่อมามีอาการชาที่เท้าสองข้าง และถ่ายเหลว จึงลดขนาดยาลงเหลือ 0.6 มิลลิกรัม/วัน แต่ยังมีอาการชาเพิ่มมากขึ้นจนถึงสะโพก แพทย์ได้วินิจฉัย neuropathy จากโคลชิซิน หลังหยุดการใช้โคลชิซิน ผู้ป่วยมีอาการดีขึ้น สามารถวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ ได้แก่โรคไตเรื้อรังและอันตรกิริยาระหว่าง tacrolimus และ โคลชิซิน ทำให้ผู้ป่วยมีระดับโคลชิซินในเลือดสูงเกินไปจนเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากโคลชิซิน ดังนั้นเภสัชกรจึงควรระวังการใช้โคลชิซิน และเสนอปรับขนาดโคลชิซินให้เหมาะสมโดยเฉพาะในกลุ่มผู้ป่วยปลูกถ่ายอวัยวะซึ่งได้รับยากดภูมิคุ้มกัน และมีโรคไตเรื้อรังร่วมด้วย
References
Ferron GM, Rochdi M, Jusko WJ, Scherrmann JM. Oral absorption characteristics and pharmacokinetics of colchicine in healthy volunteers after single and multiple doses. J Clin Pharmacol. 1996;36(10):874-83. doi: 10.1002/j.1552-4604.1996.tb04753.x.
Angelidis C, Kotsialou Z, Kossyvakis C, Vrettou AR, Zacharoulis A, Kolokathis F, et al. Colchicine pharmacokinetics and mechanism of action. Curr Pharm Des. 2018;24(6):659-63. doi: 10.2174/1381612824666180123110042.
สมาคมรูมาติสซั่มแห่งประเทศไทย. แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์ (Guideline for management of gout) [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพมหานคร: สมาคมรูมาติสซั่มแห่งประเทศไทย; 2555 [สืบค้นเมื่อ 15 พ.ย. 2564]. สืบค้นจาก: https://thairheumatology.org/phocadownload/70/Guideline_004_2.pdf
Eleftheriou G, Bacis G, Fiocchi R, Sebastiano R. Colchicine-induced toxicity in a heart transplant patient with chronic renal failure. Clin Toxicol (Phila). 2008;46(9):827-30. doi: 10.1080/15563650701779703.
Amanova A, Kendi Celebi Z, Bakar F, Caglayan MG, Keven K. Colchicine levels in chronic kidney diseases and kidney transplant recipients using tacrolimus. Clin Transplant. 2014;28(10):1177-83. doi: 10.1111/ctr.12448.
Link LH, Bindels A, Brasse BP, Intven FA, Grouls R, Roos A. Severe colchicine intoxication; always lethal? Neth J Crit Care [Internet]. 2014 [cited 2021 Nov 15];18:20-3. Available from: https://www.researchgate.net/publication/264464326_Severe_colchicine_intoxication_always_lethal
Visser NA, Notermans NC, Linssen RSN, van den Berg LH, Vrancken AF. Incidence of polyneuropathy in Utrecht, the Netherlands. Neurology. 2015;84(3):259-64. doi: 10.1212/WNL.0000000000001160.
Hanewinckel R, Drenthen J, van Oijen M, Hofman A, van Doorn PA, Ikram MA. Prevalence of polyneuropathy in the general middle-aged and elderly population. Neurology. 2016;87(18):1892-8. doi: 10.1212/WNL.0000000000003293.
Hanewinckel R, van Oijen M, Ikram MA, van Doorn PA. The epidemiology and risk factors of chronic polyneuropathy. Eur J Epidemiol. 2016;31(1):5-20. doi: 10.1007/s10654-015-0094-6.
Hughes RA. Peripheral neuropathy. BMJ. 2002;324(7335):466-9. doi: 10.1136/bmj.324.7335.466.
Jones MR, Urits I, Wolf J, Corrigan D, Colburn L, Peterson E, et al. Drug-induced peripheral neuropathy: a narrative review. Curr Clin Pharmacol. 2020;15(1):38-48. doi: 10.2174/1574884714666190121154813.
Castelli G, Desai KM, Cantone RE. Peripheral neuropathy: evaluation and differential diagnosis. Am Fam Physician. 2020;102(12):732-9. PMID: 33320513.
Vilholm OJ, Christensen AA, Zedan AH, Itani M. Drug-induced peripheral neuropathy. Basic Clin Pharmacol Toxicol. 2014;115(2):185-92. doi: 10.1111/bcpt.12261.
Mandel W. Pyridoxine and the isoniazid-induced neuropathy. Dis Chest. 1959;36:293-6. doi: 10.1378/chest.36.3.293.
กรมควบคุมโรค. กองวัณโรค. คำแนะนำเรื่องการวินิจฉัยและรักษาการติดเชื้อวัณโรคระยะแฝง [อินเทอร์เน็ต]. นนทบุรี: กองวัณโรค กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข; 2562 [สืบค้นเมื่อ 15 พ.ย.2564]. สืบค้นจาก: https://www.tbthailand.org/download/Manual/คำเเนะนำเรื่องการวินิจฉัยเเละรักษาการติดเชื้อวัณโรคระยะแฝง.pdf
Shoskes A, Wilson R. Neurologic complications of kidney transplantation. Transl Androl Urol. 2019;8(2):164-72. doi: 10.21037/tau.2018.08.11.
McEwan T, Bhambra J, Liew DF, Robinson PC. Systematic review of colchicine neuromyopathy: risk factors, duration and resolution. Semin Arthritis Rheum. 2023;58:152150. doi: 10.1016/j.semarthrit.2022.152150.
Lai IC, Cheng CY, Chen HH, Chen WY, Chen PY. Colchicine myoneuropathy in chronic renal failure patients with gout. Nephrology (Carlton). 2006;11(2):147-50. doi: 10.1111/j.1440-1797.2006.00542.x.
Dupont P, Hunt I, Goldberg L, Warrens A. Colchicine myoneuropathy in a renal transplant patient. Transpl Int. 2002;15(7):374-6. doi: 10.1007/s00147-002-0426-9.
Wluka AE, Ryan PF, Miller AM, Richardson M, Bergin PJ, Page JL, et al. Post-cardiac transplantation gout: incidence of therapeutic complications. J Heart Lung Transplant. 2000;19(10):951-6. doi: 10.1016/s1053-2498(00)00175-3.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล(ประเทศไทย)
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อความภายในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารเภสัชกรรมโรงพยาบาลทั้งหมด รวมถึงรูปภาพประกอบ ตาราง เป็นลิขสิทธิ์ของสมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) การนำเนื้อหา ข้อความหรือข้อคิดเห็น รูปภาพ ตาราง ของบทความไปจัดพิมพ์เผยแพร่ในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ ต้องได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการวารสาร (สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย)) อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร
สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) อนุญาตให้สามารถนำไฟล์บทความไปใช้ประโยชน์และเผยแพร่ต่อได้ โดยอยู่ภายใต้เงื่อนไขสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอน (Creative Commons License: CC) โดย ต้องแสดงที่มาจากวารสาร – ไม่ใช้เพื่อการค้า – ห้ามแก้ไขดัดแปลง, Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)
ข้อความที่ปรากฏในบทความในวารสารเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) และบุคลากรในสมาคมฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเอง ตลอดจนความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความเป็นของผู้เขียน ไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการ