Fostemsavir: ยาต้านเอชไอวีกลุ่ม gp120-directed attachment inhibitor
คำสำคัญ:
เอชไอวี, ยาต้านเอชไอวี, gp120, fostemsavirบทคัดย่อ
การติดเชื้อเอชไอวีและโรคเอดส์ยังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของโลกและประเทศไทย โดยพบผู้ติดเชื้อรายใหม่อย่างต่อเนื่องและยังไม่สามารถรักษาให้หายขาด ในปัจจุบันได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเชื้อเอชไอวีมากขึ้น มีการค้นพบตำแหน่งที่ยาออกฤทธิ์หลายตำแหน่งมากขึ้น และมีการพัฒนายาต้านเอชไอวีแล้วหลายชนิด การรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีด้วยยาต้านเอชไอวี เป็นการใช้ยาอย่างน้อย 3 ชนิดรวมกัน ซึ่งในปัจจุบันมียาต้านเอชไอวีแล้วทั้งหมด 6 กลุ่ม และ ยาในกลุ่ม gp120-directed attachment inhibitor นับเป็นยาต้านเอชไอวีกลุ่มใหม่ ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนจากองค์การอาหารและยาของประเทศสหรัฐอเมริกา โดยใช้ร่วมกับยาต้านไวรัสชนิดอื่นสำหรับรักษาโรคติดเชื้อเอชไอวีชนิด HIV-1 ที่ดื้อต่อการรักษาหรือทนต่อการใช้ยาอื่นไม่ได้ โดยรับประทาน fostemsavir ขนาด 600 มิลลิกรัม วันละ 2 ครั้ง จะมีค่ามัธยฐานของเวลาที่ได้ระดับความเข้มข้นสูงสุด คือ 2 ชั่วโมง มีค่าการจับกับโปรตีนในพลาสมา ร้อยละ 88.4 ค่าครึ่งชีวิตเท่ากับ 11 ชั่วโมง โดยไม่จำเป็นต้องปรับขนาดยาในผู้ที่มีการทำงานของตับหรือไตบกพร่องและเมื่อติดตามประสิทธิผลที่ 240 สัปดาห์หลังจากได้รับยาพบว่าสามารถยับยั้งไวรัสได้ จำนวนเม็ดเลือดขาว CD4 เพิ่มขึ้น สัดส่วนระหว่างเม็ดเลือดขาว CD4 ต่อ CD8 เพิ่มขึ้น อาการไม่พึงประสงค์ที่พบได้บ่อยที่สุด ได้แก่ คลื่นไส้ ท้องเสีย ปวดศีรษะ
References
Jongwutiwes U, Sungkanuparph S, Kiertiburanakul S. Comparison of clinical features and survival between cryptococcosis in human immunodeficiency virus (HIV)-positive and HIV-negative patients. Jpn J Infect Dis. 2008;61:111-5. doi:10.7883/yoken.jjid.2008.111.
Jongwutiwes U, Kiertiburanakul S, Sungkanuparph S. Impact of antiretroviral therapy on the relapse of cryptococcosis and survival of HIV-infected patients with cryptococcal infection. Curr HIV Res 2007;5(3):355-60. doi: 10.2174/157016207780636551.
ศศิโสภิณ เกียรติบูรณกุล. บทนำ. ใน: ศศิโสภิณ เกียรติบูรณกุล, บรรณาธิการ. การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีแบบผู้ป่วยนอก. กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล; 2557. หน้า 2.
หน่วยคลังข้อมูลยา. Fostemsavir…gp120-directed attachment inhibitor ชนิดแรกสำหรับรักษาโรคติดเชื้อเอชไอวี (HIV) [อินเทอร์เนต]. กรุงเทพมหานคร: หน่วยคลังข้อมูลยา คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. 2563 [สืบค้นเมื่อ 1 ก.ค. 2566]. สืบค้นจาก: https://pharmacy.mahidol.ac.th/dic/news_week_full.php?id=1578
นวทรัพย์ พิชัยสามารถ. โครงสร้างและพลังงานอันตรกิริยาระหว่างตัวยับยั้งโรคเอดส์ TMC 278 กับบริเวณการจับของเอนไซม์การถ่ายแบบ เอช ไอ วี-1 ที่ไม่มีการกลายพันธุ์ [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต]. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ; 2554.
บุรัสกร ทรัพยสุพรรณ, พุทธิชัย ศิริวัฒนานุกุล, เสริมสิริ แสงรุงเรืองศรี. CCR5 antagonists: เปาหมายใหมในการรักษาโรคเอดส์. วารสารไทยไภษัชยนิพนธ์ [อินเทอร์เนต]. 2550 [สืบค้นเมื่อ 1 ก.ค. 2566];4(1):35-48. สืบค้นจาก: https://li01.tci-thaijo.org/index.php/TBPS/article/view/33074
ViiV Healthcare. Rukobia (fostemsavir) extended-release tablets, for oral use [Internet]. Silver Spring (Maryland): U.S. Food and Drug Administration; 2020 [cited 2023 Jul 1]. Available from: https://www.accessdata.fda.gov/drugsatfda_docs/label/2020/212950s000lbl.pdf
Muccini C, Canetti D, Castagna A, Spagnuolo V. Efficacy and safety profile of fostemsavir for the treatment of people with human immunodeficiency virus-1 (HIV-1): current evidence and place in therapy. Drug Des Dev Ther. 2022;16:297–304 doi: 10.2147/DDDT.S273660.
Thakkar N, Magee M, Goyal N, Abberbock J, Jones C, Taylor J, et al. Model-based dose selection of fostemsavir for pediatric populations with multidrug-resistant HIV-1 and relative bioavailability assessment in healthy adults. Clin Pharmacol Drug Dev. 2023;12(10):991–1000. doi: 10.1002/cpdd.1291.
ViiV Healthcare ULC. Product monograph, Rukobia® [Internet]. Laval (Quebec): ViiV Healthcare ULC; 2021 [cited 2023 Jul 1]. Available from: https://viivhealthcare.com/content/dam/cf-viiv/viiv-healthcare/en_CA/rukobia.pdf
Lataillade M, Lalezari JP, Kozal M, Aberg JA, Pialoux G, Cahn P, et al. Safety and efficacy of the HIV-1 attachment inhibitor prodrug fostemsavir in heavily treatment-experienced individuals: week 96 results of the phase 3 BRIGHTE study. Lancet HIV. 2020;7(11):e740-51. doi: 10.1016/S2352-3018(20)30240-X.
Kozal M, Aberg J, Pialoux G, Cahn P, Thompson M, Molina J-M, et al. Fostemsavir in adults with multidrug-resistant HIV-1 infection. N Engl J Med. 2020;382(13):1232-43. doi: 10.1056/NEJMoa1902493.
Ackerman P, Thompson M, Molina J-M, Aberg J, Cassetti I, Kozal M, et al. Long-term efficacy and safety of fostemsavir among subgroups of heavily treatment-experienced adults with HIV-1. AIDS. 2021;35(7):1061-72. doi: 10.1097/QAD.0000000000002851.
Aberg JA, Shepherd B, Wang M, Madruga JV, Mendo Urbina F, Katlama C, et al. Week 240 efficacy and safety of fostemsavir plus optimized background therapy in heavily treatment-experienced adults with HIV-1. Infect Dis Ther. 2023;12(9):2321-35. doi: 10.1007/s40121-023-00870-6.
Moore KP, Mageau AS, Magee M, Gorycki PD, Ackerman P, Llamoso C. 2500. Fostemsavir drug–drug interaction profile, an attachment inhibitor and oral prodrug of temsavir, for heavily treatment experienced HIV-1-infected patients. Open Forum Infect Dis. 2019;6(Suppl 2):S867. doi: 10.1093/ofid/ofz360.2178.
Lagishetty C, Moore K, Ackerman P, Llamoso C, Magee M. Effects of temsavir, active moiety of antiretroviral agent fostemsavir, on QT interval: results from a phase I study and an exposure–response analysis. Clin Transl Sci. 2020;13(4):769–76. doi: 10.1111/cts.12763.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล(ประเทศไทย)
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อความภายในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารเภสัชกรรมโรงพยาบาลทั้งหมด รวมถึงรูปภาพประกอบ ตาราง เป็นลิขสิทธิ์ของสมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) การนำเนื้อหา ข้อความหรือข้อคิดเห็น รูปภาพ ตาราง ของบทความไปจัดพิมพ์เผยแพร่ในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ ต้องได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการวารสาร (สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย)) อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร
สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) อนุญาตให้สามารถนำไฟล์บทความไปใช้ประโยชน์และเผยแพร่ต่อได้ โดยอยู่ภายใต้เงื่อนไขสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอน (Creative Commons License: CC) โดย ต้องแสดงที่มาจากวารสาร – ไม่ใช้เพื่อการค้า – ห้ามแก้ไขดัดแปลง, Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)
ข้อความที่ปรากฏในบทความในวารสารเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) และบุคลากรในสมาคมฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเอง ตลอดจนความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความเป็นของผู้เขียน ไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการ