การขาดสังกะสีในผู้ป่วยโรคตับอ่อนอักเสบเรื้อรังและได้รับการผ่าตัดแพนครีเอติโคดูโอเดเนกโตมีชนิดมาตรฐานวิปเปิ้ล
คำสำคัญ:
ภาวะขาดสังกะสี, ตับอ่อนอักเสบเรื้อรัง, การผ่าตัดแพนครีเอติโคดูโอเดเนกโตมีชนิดมาตรฐานวิปเปิ้ล, ภาวะแบคทีเรียเจริญผิดปกติในลำไส้เล็กบทคัดย่อ
กลุ่มอาการขาดสังกะสีแบบรุนแรงที่มาด้วยลักษณะอาการเฉพาะ ประกอบด้วยอาการผื่นอักเสบรอบบริเวณ ตา ปาก อวัยวะเพศ รอบทวารหนัก ร่วมกับอาการผมร่วง และอาการท้องเสียเรื้อรัง (acrodermatitis enteropathica) เป็นภาวะที่พบได้น้อย ในผู้ใหญ่มักพบว่ามีสาเหตุอื่น ๆ นำมาก่อน (acquired type) เช่น การได้รับอาหารที่มีสังกะสีน้อย ความผิดปกติของทางเดินอาหารในการย่อยและดูดซึม การสูญเสียธาตุสังกะสีจากร่างกาย
ชายไทย 39 ปี ได้รับการวินิฉัยโรคตับอ่อนอักเสบเรื้อรังมา 10 ปี และได้รับการผ่าตัดแพนครีเอติโคดูโอเดเนกโตมีชนิดมาตรฐานวิปเปิ้ล (Whipple operation) เมื่อ 5 ปีก่อน มาด้วยภาวะถ่ายอุจจาระมีไขมันปน เป็น ๆ หาย ๆ ต่อมามีอาการถ่ายเหลวเป็นน้ำเพิ่มมากขึ้นต่อเนื่อง 2 เดือน หลังจากนั้นเริ่มปรากฏอาการผื่นอักเสบและผมร่วง ซึ่งเป็นลักษณะที่เข้าได้กับ acrodermatitis enteropathica หลังจากผู้ป่วยได้รับการรักษาแบบภาวะขาดสังกะสี ให้โภชนบำบัด ให้เอนไซม์ช่วยย่อยที่เหมาะสมและรักษาภาวะแบคทีเรียเจริญผิดปกติในลำไส้เล็ก อาการผื่นอักเสบ ถ่ายเหลว และภาวะทุพโภชนาการของผู้ป่วยดีขึ้น โดยลำดับ
References
Prasad AS. Zinc: an overview. Nutrition 1995; 11:93-9.
Danbolt N, Closs K. Acrodermatitis entero¬pathica. Acta Derm Venereol 1942; 23:127-69.
Moynahan EJ. Acrodermatitis enteropathica: a lethal inherited human zinc deficiency disorder. Lancet 1947; 2:399-400.
Dorea JG. Zinc in human milk. Nutrition Res 2000; 20:1645-87.
Leigh IM, Sanderson KV, Atherton DJ, Wells Rs. Hypozincaemia in infancy. Br J Dermatol 1979; 101:73-5.
Perafan-Riveros C, Franca LFS, Alves ACF, Sanches JA Jr. Acrodermatitis enteropathica: case report and review of the literature. Pediatr Dermatol 2002 ;19: 426-31.
Mueller CM, Kovacevich DS, McClave SA, Miller SJ, Schwartz DB. The A.S.P.E.N. Adult Nutrition Support Core Curriculum. 2nd ed. United States: American Society for Parenteral and Enteral Nutrition; 2012.
McClave SA, Martindale RG, Vanek VW, McCarthy M, Roberts P, Taylor B, et al. Guidelines for the provision and assessment of nutrition support therapy in the adult critically ill patients: Society of Critical Care Medicine(SCCM) and American Society for Parenteral and Enteral Nutrition(A.S.P.E.N.) JPEN J Parenter Enteral Nut .2009 ; 33: 277-316.
Ross AC, Caballero B, Cousins RJ, Tucker KL, Ziegler TR. Modern Nutrition in Health and Disease.11th ed. China: Lippincott Williams & Wilkins; 2014.
McCall KA, Huang C, Fierke CA. Function and Mechanism of Zinc Metalloenzymes. J. Nutr; 130:1437S-46S.
Ray CS, Singh B, Jena I, Behera S, Ray S. Low Alkaline Phosphatase (ALP) In Adult Population an Indicator of Zinc (Zn) and Magnesium (Mg) Deficiency. Curr. Res. Nutr Food Sci Jour 2017; 5: 347-52.
Gehrig, Dinulos K A, James GH. Acrodermatitis due to nutritional deficiency. Current Opinion in Pediatrics 2010; 22: 107–12.
Perafan-Riveros C, Franca LFS, Alves ACF Acrodermatitis enteropathica: case report and review of the literature. Pediatr Dermatol 2002;19 :426-31.
Maverakis E, Fung MA, Lynch PJ, Draznin M, Michael DJ, Ruben B, et al. Acrodermatitis enteropathica and an overview of zinc metabolism. J Am Acad Dermatol. 2007; 56:116–24.
Changela A, Javaiya H, Changela K, Davanos E, Rickenbach K. Acrodermatitis enteropathica during adequate enteral nutrition. JPEN J Parenter Enteral Nutr. 2012; 36:235-7.
Meier RF, Sobotka L. Basics in clinical nutrition: Nutritional support in acute and chronic pancreatitis. European e-journal of clinical nutrition and metabolism 2010; 5: e58-62.
Duggan SN, Conlon KC. A practical guide to the nutritional management of chronic pancreatitis. Practical Gastroenterology 2013 ;118 :24-32.
Pappas S, Krzywda E, McDowell N. Nutrition and pancreaticoduodenectomy. Nutrition in clinical practice 2010 ;25 :234-43.
Phillips ME. Pancreatic Resection: Nutritional Implications and Long Term Follow Up. Practical Gastroenterology 2016 ;150: 18-26.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ลงใน Thai JPEN วารสารโภชนบำบัด ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ใน Thai JPEN วารสารโภชนบำบัด ถือเป็นลิขสิทธิ์ของ Thai JPEN วารสารโภชนบำบัด หากบุคคลหรืหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนใดส่วนหนึ่งไปเผยแพร่หรือเพื่อกระทำการใด จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจาก Thai JPEN วารสารโภชนบำบัด ก่อนเท่านั้น